Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1928
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปรัชญากรณ์ ขันทอง | |
dc.date.accessioned | 2014-11-19T03:06:21Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:36:18Z | - |
dc.date.available | 2014-11-19T03:06:21Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:36:18Z | - |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1928 | - |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพกระบวนการผลิตและการทำงานของเครื่องจักรในโรงงานผลิตชิ้นส่วนฮาร์ดิสก์ไดรฟ์ โดยได้นำเอาหลักการปรับตั้งเครื่องจักรและเทคนิควิศวกรรมวิธีการมาเป็นแนวทางในการลดเวลาการปรับตั้งเครื่องจักร เพื่อปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานและเพิ่มผลผลิตของกระบวนการขัดจากการศึกษากระบวนการทำงานของการขัดชิ้นงานที่แผนก Middle End กับ Back End ของโรงงานผลิตชิ้นส่วนฮาร์ดิสก์ไดรฟ์ พบว่าอัตราการเดินเครื่องจักรต่ำอยู่ที่ร้อยละ 38.77 ส่งผลกระทบให้ประสิทธิภาพโดยรวมของเครื่องจักรต่ำอยู่ที่ร้อยละ 29.95 เป็นผลให้การมอบส่งสินค้าไม่ทันตามระยะเวลาที่กำหนด ขั้นตอนการดำเนินงานเริ่มจากการรวบรวมข้อมูลและระบุสาเหตุของปัญหา ซึ่งพบปัญหาจุดคอขวดอยู่ที่เครื่องขัดใช้เวลาในการปรับตั้งนานแล้วทำการหาแนวทางปรับปรุงที่เหมาะสมแล้วยืนยันผลการปรับปรุงจริงด้วยการออกแบบการทดลอง ผลการปรับปรุงสามารถช่วยลดเวลาลงจากเดิม OP.QR นาที/รุ่นการผลิต เหลือเพียง T.UO นาที/รุ่นการผลิต และสามารถเพิ่มผลผลิตได้จากเดิม 4,000,000 ชิ%น/เดือน เป็น 6,000,000 ชิ้น/เดือน ผลิตภาพด้านแรงงานเพิ่มจาก 99.72 ชิ้นต่อจำนวนแรงงานต่อชั่วโมงการทำงาน เป็น 161.58 ชิ้นต่อชั่วโมง แรงงานผลิตภาพด้านการลงทุนเพิ่มจาก 0.0069 ชิ้นต่อบาท เป็น 0.012 ชิ้นต่อบาท ส่งผลให้สามารถส่งมอบสินค้าได้ตามกำหนดและตามปริมาณความต้องการที่มีเพิ่มมากขึ้น | en_US |
dc.description.abstract | The objective of this research was to improve the efficiency of process and machining operation at a hard disk drive component manufacturer. The method engineering technique and setup time reduction was used to enhance the efficiency by reduce setup time for productivity improvement of polishing process. Polishing processes of the Middle End and Back End department at the case study company were selected to study. Found the availability rate of 38.77 was low affect to the overall equipment effectiveness value is at 29.95 percent. Hence, the production could not achieve the monthly target which lingered the delivery time. The process begins by gathering the data and determines the cause of the problem. The polishing machine is bottleneck process. After confirm result by design of experimental. For improvement can reduce setup time from 15.68 minutes / lot to 3.41 minutes / lot. The quantity of product increased from 4,000,000 pieces / month to 6,000,000 pieces / month. the labor productivity from 99.72 to 161.58 parts per labor hour, the capital was increased from 0.0069 to 0.012 bath/pieces. Consequently, the delivery time and production output met with the customer requirements. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.subject | ชิ้นส่วนฮาร์ดิสก์ไดร์ฟ | en_US |
dc.subject | การเพิ่มผลผลิตในงานอุตสาหกรรม | en_US |
dc.title | การเพิ่มผลผลิตโดยเทคนิควิศวกรรมวิธีการ กรณีศึกษา: กระบวนการขัดในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ | en_US |
dc.title.alternative | Productivity Improvement by Method Engineering Technique: A Case Study of a Polishing Process of a Hard Disk Drive Component Manufacturer | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
139258.pdf | การเพิ่มผลผลิตโดยเทคนิควิศวกรรมวิธีการ กรณีศึกษา: กระบวนการขัดในอุตสาหกรรมผลิตชิ้นส่วนฮาร์ดดิสก์ไดรฟ์ | 25.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.