Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1955
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ขวัญจิต ออกเวหา | |
dc.date.accessioned | 2014-11-20T02:08:40Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:36:09Z | - |
dc.date.available | 2014-11-20T02:08:40Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:36:09Z | - |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1955 | - |
dc.description.abstract | การระบุตำแหน่งของวัตถุใดอยู่บนของภาพ 2 มิติ นั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้ข้อมูลภาพถ่ายในหลายๆ มุมมองเพื่อนำมาประมวลผล จึงเป็นผลให้มีการประมวลผล จึงเป็นผลให้มีการประมวลผลที่ช้าและต้องการข้อมูลที่มาก ดังนั้นวิทยานิพนธ์นี้จึงทำการศึกษาการตรวจหาและระบุวัตถุที่อยู่บนสุดของภาพ 2 มิติ ที่ทับซ้อนโดยใช้ข้อมูลภาพมุมบนเพียงภาพเดียวร่วมกับเทคนิคมาร์จินอลสเปซและมอร์โฟโลยี การทดลองได้ใช้ภาพถ่ายวัตถุขนาด 480x640 พิกเซล มาทำการหาขอบภาพโดยใช้การหาขอบภาพอนุพันธ์อันดับสอง เทคนิคที่นำมาใช้ คือ เทคนิคการลาปลาซของเกาส์เซียน (Laplacian of a Gaussian) กรองภาพโดยใช้ตัวกรองแบบโมชัน (Motion Filter) และทำการปรับปรุงภาพโดยใช้เทคนิคมอร์โฟโลยี ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเทคนิคดังกล่าวมีประสิทธิภาพในการตรวจหาวัตถุที่ต้องการ จากนั้นทำการระบุวัตถุที่อยู่ด้านบนโดยใช้เทคนิคดิสแตนทรานฟอร์ม เทคนิคการแบ่งส่วนภาพสันปันน้ำ (Watershed Segmentation) และเทคนิคหาจุดศูนย์ถ่วง ผลการทดลองการระบุวัตถุที่อยู่ด้านบนสุดพบว่า เทคนิคดิสแตนทรานฟอร์มจะมีประสิทธิภาพในการระบุกลุ่มวัตถุมากกว่าระบุวัตถุเดี่ยว ส่วนเทคนิคการแบ่งส่วนภาพสันปันน้ำมีประสิทธิภาพในการระบุวัตถุในภาพที่มีการทับซ้อน เช่น ภาพวัตถุทรงกลม ภาพวัตถุรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า และภาพวัตถุทรงรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส โดยให้ประสิทธิภาพร้อยละ 93.33 29.03 และ 74.36 ตามลำดับ และเทคนิคจุดศูนย์ถ่วงให้มีประสิทธิภาพในการระบุวัตถุบนสุดร้อยละ 68.88 ในภาพที่มีการทับซ้อนมาก | en_US |
dc.description.abstract | The top object identification in two dimensions image is required many angle images for image processing. This causes to slow computation and request a lot of information. Therefore, this thesis presents the studying of top object detection in two dimensions image overlapping, which requests only one top view image using marginal space and morphology technique. The experiments, the image sizes 480 x 640 pixels are used to find edge using second order derivative equation. This technique includes laplacian of a gaussian technique to filter the image using motion filter. The image is then modified using morphology technique. This results show that this technique provides the good efficiency to searching the target object. The top object is then identified using different techniques such as distant transform, watershed segmentation technique and centroid technique. The experimental of top object identification show that the distant transform technique provides the efficiency to identify the group object more than single object. The watershed segmentation technique offers the efficiency of top object identification which exists in obstruction image such as the circular objects, rectangular objects and square objects. It gives the accuracy as 93.33%, 29.03% and 74.36% respectively. Finally, the centroid technique achieves the top object identification at 68.88% in the condition of more complex obstruction image. | |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้า | en_US |
dc.subject | การประมวลผลภาพ | en_US |
dc.subject | ภาพ 2 มิติ | en_US |
dc.subject | มาร์จินอลสเปซ | en_US |
dc.subject | มอร์โฟโลยี | en_US |
dc.title | การศึกษาการตรวจหาวัตถุที่อยู่บนสุดของภาพที่ทับซ้อนโดยใช้เทคนิคมาร์จินอลสเปซและมอร์โฟโลยี | en_US |
dc.title.alternative | Studying of top object detection in image overlapping using marginal space and morphology technique | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
139385.pdf | การศึกษาการตรวจหาวัตถุที่อยู่บนสุดของภาพที่ทับซ้อนโดยใช้เทคนิคมาร์จินอลสเปซและมอร์โฟโลยี | 12.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.