Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2078
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปานฉัตท์ อินทร์คง
dc.date.accessioned2015-01-09T03:47:18Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:39:04Z-
dc.date.available2015-01-09T03:47:18Z
dc.date.available2020-09-24T04:39:04Z-
dc.date.issued2557
dc.identifier.issn2351-0285
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2078-
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่าภาคเหนือ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาชนเผ่าเย้า มีจุดมุ่งหมายเพื่อ 1) ศึกษาการแต่งกายชนเผ่าเย้าในภาคเหนือ นำมาใช้ร่วมในการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่าประเภทเสื้อยืดและกระเป๋าสะพาย 2) เพื่อออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่าเย้า ประเภทเสื้อยืดและกระเป๋าสะพายให้มีรูปแบบร่วมสมัย 3) เพื่อสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่าเย้า ประเภทเสื้อยืดและกระเป๋าสะพายจากอัตลักษณ์การแต่งกายชนเผ่า กลุ่มประชากร คือ ผู้นำชุมชน จำนวน 3 คน นักออกแบบ จำนวน 2 คน ร้านจำหน่ายผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่า จำนวน 6 ร้าน นักท่องเที่ยว จำนวน 30 คน ชาวเขาเผ่าเย้า จำนวน 6 คน และผลิตภัณฑ์ที่ระลึกเผ่าเย้าประเภทเสื้อยืดและกระเป๋าสะพาย เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์ และการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่า การแต่งกายของชนเผ่าเย้าสามารถใช้เป็นแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ระลึกเอกลักษณ์ชนเผ่าที่มีความร่วมสมัย โดยการผสมผสานทั้งแบบปะติดลายผ้า แบบพิมพ์ลาย และรูปวาดชนเผ่าร่วมกับการปักผ้า เพื่อให้เกิดความงามและประโยชน์ใช้สอยen_US
dc.description.abstractThe purposes of this study were : 1) To study Yao traditional costume and implemented the design on modern T-shirts and bags, 2) To develop the traditional product design to be more contemporary 3) To set prototypes of T-shirt and bag souvenir following the design of the tribal costume. Group of the population are 3 community leaders, 2 designers, 6 traditional souvenirs shops, 30 tourists, 6 Yaos tribal group, souvenir tribal T-shirt and bag. Tools to collect data for the research are observation, interview, and focus group discussion. The results showed that the traditional costume of Yao tribal group can be adapted and created as a new contemporary product design beautifully and functionally by combining various techniques such as collaging, screening, and incorporate portrait of the tribal people.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะศิลปกรรมศาสตร์. สาขาออกแบบผลิตภัณฑ์en_US
dc.subjectชนเผ่าเย้าen_US
dc.subjectผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่าen_US
dc.subjectเศรษฐกิจสร้างสรรค์en_US
dc.subjectYaoen_US
dc.subjecttribes The souveniren_US
dc.subjectEconomic creativityen_US
dc.titleการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่าภาคเหนือ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาชนเผ่าเย้าen_US
dc.title.alternativeDevelopment of the northern souvenir product in promoting creative economic tourism : A case study of Yao tribal groupen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - FA)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
วารสารศิลปกรรมศาสตร์วิชาการ วิจัย และงานสร้างสรรค์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 ก.ค.-ธ.ค. 255....pdfการพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่ระลึกชนเผ่าภาคเหนือ เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ : กรณีศึกษาชนเผ่าเย้า711.25 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.