Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2138
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกศรินทร์ ยืนเยี่ยม
dc.date.accessioned2015-02-24T07:36:06Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:36:11Z-
dc.date.available2015-02-24T07:36:06Z
dc.date.available2020-09-24T06:36:11Z-
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2138-
dc.description.abstractการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นวิธีการจัดซื้อจัดจ้างที่มีกระบวนการหลายขั้นตอนและมีผู้เกี่ยวข้องหลายฝ่าย โดยแต่ละขั้นตอนมีรายละเอียดการดำเนินการค่อนข้างมากซึ่งเป็นการยากต่อการทำความเข้าใจในหลักเกณฑ์และวิธีการปฏิบัติ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหา สาเหตุ และเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ในโครงการก่อสร้างของเทศบาลเมืองในเขตปริมณฑล โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่พัสดุ จำนวน 5 คน คณะกรรมการดำเนินการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ จำนวน 5 คน และผู้ค้าจำนวน 5 คน ใช้แบบสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือในการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์ และทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้โดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการศึกษาวิจัยพบปัญหาของผู้เกี่ยวข้องกับการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนของเจ้าหน้าที่พัสดุ คณะกรรมการดำเนินการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ และผู้ค้ายังขาดความรู้ความเข้าใจ ในขั้นตอนการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากบุคลากรที่เกี่ยวข้องขาดการอบรม กฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์เกี่ยวกับวิธีการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์โดยแนวทางการแก้ไขปัญหา ควรมีการจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับกฎ ระเบียบ และหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์อย่างสม่ำเสมอ แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องทั้งเจ้าหน้าที่ของเทศบาล และมีการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความมั่นใจแก่ผู้ค้าen_US
dc.description.abstractElectronic auction (e-Auction) is an approach of procurement, which has several steps and concerns with several parties. In addition, it has many detailed rules and procedures that lead to the implementation difficulty. This research aimed to study the problems and propose the solutions for the e-Auction process of the construction projects in the metropolitan area. The samples were five procurement officers, five e-Auction committees, and five contractors. The acquired data were collected form the interviews and then analyzed by Content Analysis. The results indicated that the people involved with e–Auction process, e.g. the procurement officers, the e-Auction committees, and the contractors, have insufficient knowledge and understandings of the e – Auction system due to the lack of training about the e-Auction regulations. Finally, the main solution of the problems is to train the regulations concerning e-Auction to the municipality staff and the contractors.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาen_US
dc.subjectการประมูลen_US
dc.subjectการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.subjectโครงการก่อสร้างen_US
dc.subjectเทศบาลเมืองen_US
dc.subjectBiddingen_US
dc.subjecte-Auctionen_US
dc.subjectConstruction Projecten_US
dc.subjectMunicipalityen_US
dc.titleการศึกษาปัญหาการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ในโครงการก่อสร้างของเทศบาลเมืองในเขตปริมณฑลen_US
dc.title.alternativeA Study of e-Auction Problems in the Construction Projects of the Department of Municipality in Bangkok Vicinityen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142506.pdfการศึกษาปัญหาการประมูลด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ในโครงการก่อสร้างของเทศบาลเมืองในเขตปริมณฑล17.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.