Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2151
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorก้องนภา ถิ่นวัฒนากูล
dc.date.accessioned2015-03-03T06:47:10Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:18:26Z-
dc.date.available2015-03-03T06:47:10Z
dc.date.available2020-09-24T04:18:26Z-
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2151-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ความผูกพันต่อองค์กรและความสัมพันธ์ของแรงจูงใจในการปฏิบัติงานต่อความผูกพันต่อองค์กร โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัยและใช้กลุ่มตัวอย่างคือ พนักงานเทศบาล ในจังหวัดสระแก้ว จำนวน 327 คน โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทำการทดสอบสมมติฐานโดยใช้สถิติ Independent Samples t-test, One-way ANOVA, LSD และ Chi-Square ที่ระดับความเชื่อมั่น 95 % ผลการศึกษาพบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากที่สุด คือ ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชาและแรงจูงใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก คือ ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านความก้าวหน้าในงาน ด้านเงินเดือน นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน และประสบการณ์ทำงานที่แตกต่างกันของพนักงานเทศบาล ส่งผลต่อความคิดเห็นในเรื่องความผูกพันต่อองค์กรแตกต่างกัน และพบว่าแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน ด้านความสำเร็จในการทำงาน ด้านลักษณะของงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในงาน ด้านความรับผิดชอบ ด้านการได้รับการยอมรับนับถือด้านเงินเดือน และด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา มีความสัมพันธ์กับความผูกพันต่อองค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05en_US
dc.description.abstractThe study was conducted to investigate the motivation at work, the organizational commitment and the relationship between motivation at work and organizational commitment. The data were collected from 327 municipal employees in Sa Kaeo Province through the application of questionnaire, and were analyzed using Percentage, Mean, Standard Deviation, Independent Samples t-test, One-way ANOVA, and Chi-Square with the 95% confidence level. The results of the study revealed that the highest levels of motivation at work were in the aspects of work activity, responsibility, recognition, and relationship with superiors, while the motivation at work in the aspects of achievement, advancement, and salary were at the high levels. Moreover, the study showed that different gender, age, marital status, level of education, salary rate, and work experience of the municipal employees had effects on the differences of opinion concerning the organizational commitment, and it was also found that the motivation at work in the aspects of achievement, work activity, advancement, responsibility, recognition, salary, and relationship with superiors had a correlation with the organizational commitment at 0.05 level of significance.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกการจัดการทั่วไปen_US
dc.subjectแรงจูงใจในการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectความผูกพันต่อองค์กรen_US
dc.subjectmotivation at worken_US
dc.subjectorganizational commitmenten_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาล จังหวัดสระแก้วen_US
dc.title.alternativeCollaboration patterns in construction industry for sustainable business alliance developmenten_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
142511.pdfความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานกับความผูกพันต่อองค์กรของพนักงานเทศบาล จังหวัดสระแก้ว4.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.