Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2271
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปิยพงษ์ ริดเขียว | |
dc.date.accessioned | 2015-06-16T03:26:25Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:37:38Z | - |
dc.date.available | 2015-06-16T03:26:25Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:37:38Z | - |
dc.date.issued | 2555 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2271 | - |
dc.description.abstract | กระบวนการผลิตกระจกโครเมียมในชิ้นส่วนยานยนต์ ณ บริษัทกรณีศึกษา พบปัญหาการเกิดของเสียปริมาณมากในกระบวนการผลิตกระจก โครเมียมสูงถึงร้อยละ 23 โดยพบของเสียในลักษณะเกิดรอยขูดขีดบนผิวกระจก การผิดเพี้ยนของภาพ เกิดจุดบนผิวกระจก เบื้องต้น งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดของเสียและปรับปรุงคุณภาพของกระบวนการผลิตกระจกโครเมียม โดยนำเทคนิคการออกแบบการทดลอง ในการหาปัจจัยและระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดของเสีย และคุณภาพต่อกระบวนการผลิตกระจกโครเมียม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ชิ้นงานกระจกโครเมียม ซึ่งมีการเก็บข้อมูลเชิงผันแปร และเชิงแอตทริบิวต์ จำนวน 40 ตัวอย่างของแต่ละเงื่อนไขการทดลองตามแบบการทดลอง L[subscript8]2[superscript6] โดยวิธีทากูชิ ซึ่งเป็นการออกแบบการทดลองทางเลือก มาช่วยทำการกรองปัจจัย เพื่อลดจำนวนการทดลองสถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือกรณีค่ายิ่งมากยิ่งดี และกรณีค่าตรงเป้าหมายดีที่สุด ต่อจากนั้น นำปัจจัยที่ถูกกรองแล้ว เพื่อความเชื่อมั่นการทดลองโดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบจำแนกทางเดียว ซึ่งเป็นการทดลองคลาสสสิค ลักษณะข้อมูลเป็นเชิงผันแปร จำนวน 58 ตัวอย่าง โดยตั้งสมมติฐานงานวิจัยความแตกต่างระหว่างค่าเฉลี่ยของการสะท้อนแสงที่เกิดจากการใช้เวลาในการเคลือบโครเมียมทั้ง 4 ค่าไม่มีความแตกต่างกัน ผลการวิจัยพบว่าเงื่อนไขที่ดีที่สุดทั้งด้านการลดของเสียและปรับปรุงคุณภาพที่ดีที่สุดคือปัจจัยอุณหภูมิอลที่ 690 องศาเซลเซียส ความเร็วสายพานที่ 15 เมตรต่อนาที รูปแบบรถเข็นแบบมีร่องระบบเครื่องฝนขอบกระจกแบบใช้น้ำป้องกันเศษกระจก ระบบป้องกันฝุ่นบนสายพายแบบใช้แรงดันลม และเวลาในการเคลือบโครเมียมที่ 8 วินาที โดยสามารถลดของเสียเหลือร้อยละ 9.3 | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.subject | การผลิต -- การลดปริมาณของเสีย | en_US |
dc.subject | การผลิตกระจกโครเมียม -- การควบคุมการผลิต | en_US |
dc.title | การลดของเสียในกระบวนการผลิตกระจกโครเมียมโดยใช้เทคนิคการออกแบบการทดลอง | en_US |
dc.title.alternative | A defect reduction in chrome-coated mirror process by design of experiment technique | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
144740.pdf | A defect reduction in chrome-coated mirror process by design of experiment technique | 10.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.