Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2341
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorทวีศักดิ์ รองแขวง
dc.contributor.authorอภิรดา สุทธิสานนท์
dc.date.accessioned2015-08-03T03:34:15Z
dc.date.accessioned2020-09-24T07:36:27Z-
dc.date.available2015-08-03T03:34:15Z
dc.date.available2020-09-24T07:36:27Z-
dc.date.issued2556
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2341-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลของพนักงานระดับปฏิบัติการที่มีผลต่อระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะงาน และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะงานกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน โดยมุ่งเน้นศึกษาทฤษฎีแรงจูงใจ และทฤษฎีคุณลักษณะงานในมิติต่างๆ กลุ่มตัวอย่างที่ทำการศึกษา คือ พนักงานฝ่ายปฏิบัติการในโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร จำนวน 420 คน ทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่สถิติเชิงพรรณนาประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงอนุมานประกอบด้วย Independent Samples t-test, One-way ANOVA และ Pearson Correlation ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ระดับความคิดเห็นต่อคุณลักษณะงานของพนักงานในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ระดับความคิดเห็นต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของพนักงานด้านปัจจัยจูงใจ และปัจจัยค้ำจุน พบว่าในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา อายุงาน และรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกันมีผลต่อ ระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณลักษณะงานแตกต่างกัน และพบว่าคุณลักษณะงานทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านความหลากหลายของทักษะ ด้านความเกี่ยวเนื่องกันของงาน ด้านความสำคัญของงาน ด้านความมีอิสระในงาน และด้านผลสะท้อนจากงานมีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานในระดับปานกลางและเป็นไปในทิศทางเดียวกันen_US
dc.description.abstractThe purposes of this independent study were to explore the demographic factors of operational employees that affected the opinion level towards job characteristics, and to examine the relationships between job characteristics and job motivation by focusing on motivation theory and job characteristic theory in a variety of dimensions. The sample group was 420 operational level of employees in the electronic industry at Navanakorn industrial zone. Questionnaires were used to collect data and the sampling method was stratified random sampling. Statistics used to analyze data were descriptive statistics including frequency, percentage, mean, and standard deviation; and inferential statistics including Independent Samples t-test, One-way ANOVA, and Pearson Correlation at the significant level 0.05. The study results found the opinion level of job characteristics was in the medium level. The opinion level of motivation factors and hygiene factors were in the high level. The hypothesis results found that the differences in gender, age, marital status, educational level, working period, and monthly income affected the opinion level of job characteristics. In addition, job characteristic including variety skill, task identity, task significance, autonomy and feedback had moderate level of correlation with job motivation in the same direction.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจen_US
dc.subjectคุณลักษณะงานen_US
dc.subjectแรงจูงใจในการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectjob characteristicsen_US
dc.subjectjob motivationen_US
dc.titleความสัมพันธ์ของคุณลักษณะงานกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ นิคมอุตสาหกรรมนวนครen_US
dc.title.alternativeThe correlation between job characteristics and job motivation: a case study of the electronic industry at Navanakorn Industrial Zoneen_US
dc.typeArticleen_US
Appears in Collections:บทความ (Article - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
หน้า 110-117.pdfความสัมพันธ์ของคุณลักษณะงานกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร244.42 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.