Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2395
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวาสนา เต่าพาลี
dc.date.accessioned2015-08-24T06:24:38Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:51:42Z-
dc.date.available2015-08-24T06:24:38Z
dc.date.available2020-09-24T04:51:42Z-
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2395-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ระดับปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครู และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครูสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม ศึกษาปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ครูผู้สอนในสถานศึกษาสังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี จำนวน 331 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วยแบบสอบถามแบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษา 2) ปัจจัยจูงใจในการทา ผลงานทางวิชาการของครูในสถานศึกษา อยู่ในระดับมากทั้งโดยภาพรวมและรายด้าน และ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี พบว่า บทบาทของผู้บริหารสถานศึกษาเฉพาะด้านการเป็นผู้นำทางวิชาการ มีความสัมพันธ์กับปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครูในทิศทางบวก ระดับปานกลางอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractThis research aimed to study 1) the roles of school administrators, 2) the teachers’ motivation factors of the academic performance, and 3) the relationship between the role of school administrators and the teachers’ motivation factors of the academic performance. The research sample was 331 teachers under Pathumthani Primary Educational Service Area. The data were collected using Likert five point rating scale questionnaires. The data were analyzed using percentage, mean, standard deviation, and Pearson’s product moment coefficient to determine the relationship. The research results were as followed 1) the roles of school administrators was at the high level in all aspects, 2) the teachers’ motivation factors of the academic performance were also at the high level in all aspects, and 3) the relationship between the roles of school administrators as academic leaders and the teachers’ motivation factors of the academic performance revealed moderate positive relationship at .01 level of significance.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. สาขาวิชาเทคโนโลยีการบริหารการศึกษาen_US
dc.subjectครู--ผลงานทางวิชาการen_US
dc.subjectผู้บริหารสถานศึกษา--บทบาทและหน้าที่en_US
dc.titleบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานีen_US
dc.title.alternativeThe role of school administrator with the motivation factor to the academic performance for higher position of teacher under the office of Pathumthani educational serviceen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
106554.pdfบทบาทของผู้บริหารสถานศึกษากับปัจจัยจูงใจในการทำผลงานทางวิชาการของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี3.59 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.