Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2672
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวันวิสา จงรักษ์
dc.date.accessioned2016-06-20T02:32:16Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:31:46Z-
dc.date.available2016-06-20T02:32:16Z
dc.date.available2020-09-24T04:31:46Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2672-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์วัฒนธรรมข้ามชาติและประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอุตสาหกรรมเหมืองถ่านหินในประเทศอินโดนีเซีย 2) ความสัมพันธ์ของกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์กับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอุตสาหกรรมเหมืองถ่านหินในประเทศอินโดนีเซีย 3) ความสัมพันธ์ของ กระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์กับวัฒนธรรมข้ามชาติในอุตสาหกรรมเหมืองถ่านหินในประเทศอินโดนีเซีย และ 4) ความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมข้ามชาติกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานอุตสาหกรรมเหมืองถ่านหินในประเทศอินโดนีเซียประชากรในการวิจัยคือ พนักงานที่ปฏิบัติงานและผู้บริหารในบริษัทที่อยู่ในธุรกิจถ่านหินในประเทศอินโดนีเซียที่มีการร่วมทุนกับบริษัทจากประเทศไทย โดยมีบริษัทที่เข้าร่วมจำนวน 8 บริษัท มีผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 105 คนเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม และแบบประเมินสถิติที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูล ประกอบด้วย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันและการวิเคราะห์โมเดล สมการโครงสร้าง ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์มีความสัมพันธ์ทางบวกและมีอิทธิพลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและวัฒนธรรมข้ามชาติมีความสัมพันธ์ทางลบกับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานและมีอิทธิพลกับผลการปฏิบัติงานของพนักงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และ .01 และโมเดลสมการโครงสร้างมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์en_US
dc.description.abstractThis research aimed to study 1) the management of human resources cross-culture and work efficiency in the coal industry in Indonesia, 2) relationship between human resources management processes and work efficiency of the coal industry in Indonesia, 3) the relationship between the human resources management and cross-culture in the coal industry in Indonesia and 4) the relationship between cross-culture and work efficiency in the coal industry in Indonesia. The subjects of this study were 105 operating and management staff from 8 companies in the coal industry in Indonesia, which had joint ventures with companies from Thailand. The research instruments were the questionnaire and assessment form. Statistics used for data analysis included confirmatory factor analysis (CFA) and structural equation modeling (SEM). The results showed that the human resources management correlated positively and influenced the work efficiency. However, cross-culture correlated negatively with the work efficiency and influenced the work performance at the .05 and .01 statistical significant level, and a structural equation model was consistent with empirical data.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, คณะบริหารธุรกิจ, วิชาเอกการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ.en_US
dc.subjectการบริหารทรัพยากรมนุษย์en_US
dc.subjectวัฒนธรรมข้ามชาติen_US
dc.subjectประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมถ่านหินen_US
dc.titleกระบวนการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของอุตสาหกรรมถ่านหินในประเทศอินโดนีเซียen_US
dc.title.alternativeEffects of human resource management process on work efficiency in the coal industry in Indonesiaen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-149743.pdfEffects of human resource management process on work efficiency in the coal industry in Indonesia2.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.