Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2769
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปรีชา สาลี | |
dc.date.accessioned | 2017-04-21T03:49:05Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:40:05Z | - |
dc.date.available | 2017-04-21T03:49:05Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:40:05Z | - |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2769 | - |
dc.description.abstract | แม้ว่าถนนที่มีพื้นทางดินซีเมนต์จะตอบสนองต่อการใช้งานเป็นอย่างดี แต่กลับพบว่าเมื่อระยะเวลาผ่านไปปรากฏให้เห็นว่าถนนดังกล่าวเกิดความเสียหายในบางช่วงของสายทาง ในการประเมินความแข็งแรงของชิ้นแรงของชั้นพื้นทางดินซีเมนต์และชั้นทางอื่นๆในทางวิศวกรรมที่ต้องการทราบความแข็งแรงที่แท้จริงในแต่ละชิ้นทางไม่สามารถทำได้โดยง่าย จำเป็นต้องอาศัยวิธีการคำนวณย้อนกลับซึ่งมีหลากหลาย งานวิจัยนี้ศึกษาวิธีการประเมินความแข็งแรงโครงสร้างพื้นทางดินซีเมนต์ด้วยการประยุกต์ใช้เครื่องมือวัดค่าการยุบตัวจากเครื่องมือเบนเคนแมนบีม และเครื่องตุ้มกระแทกแบบเบาโดยใช้การคำนวณย้อนกลับด้วยขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม โดยการสร้างแปลงทดสอบและบดอัดด้วยจำนวนเที่ยวและวันที่บดอัดแตกต่างกัน พบว่าแอ่งการยุบตัวจากเครื่องมือเบนเคนแมนบีมถึงแม้จะปรับปรุงด้วยสมการถดถอย แต่ยังคงไม่เพียงพอต่อการคำนวณย้อนกลับซึ่งได้ค่าความคลาดเคลื่อนมากกว่าร้อยละ 20 ในขณะที่ผลการทดสอบจากเครื่องตุ้มกระแทกแบบเบาไม่จำเป็นต้องมีการวิเคราะห์แบบถดถอย และลดค่าความคลาดเคลื่อนลงเหลือเพียงร้อยละ 6 | en_US |
dc.description.abstract | Although roads or highways with soil-cement base layer show a success case for serviceability, damages have been found on some parts of the roads with time. Furthermore, the strength of all layers in the pavement structure cannot be easily evaluated and needs different ways of backcalculation process for solving this problem. This research studied the evaluation of soil-cement base stiffness using Benkelman beam and lightweight deflectometer. Full scale test sections were constructed and implemented according to different number of compaction times and dates. The test results were input data for backcalculation process based on genetic algorithm. It was found that the defection basin resulting from Benkelman beam could be improved by regression analysis, but the accuracy level was not high enough for backcalculation process resulting in over 20 percent of errors. On the other hand, the test results from lightweight deflectometer were not necessarily analyzed by regression procedure, and error occurrence could be reduced to 6 percent. | |
dc.language.iso | thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา. | en_US |
dc.subject | ความเข้มแข็งโครงสร้าง -- การทดสอบ | en_US |
dc.subject | การทดสอบแบบไม่ทำลาย | en_US |
dc.subject | ระเบียบขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม | en_US |
dc.subject | ค่าโมดูลัสชั้นทาง | en_US |
dc.subject | พื้นทางดินซีเมนต์ | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์ความแข็งแรงโครงสร้างพื้นทางผสมซีเมนต์ โดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม | en_US |
dc.title.alternative | Analysis of strength of cement treated Base using genetic algorithm | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-151628.pdf | Analysis of strength of cement treated Base using genetic algorithm | 9.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.