Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2823
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorพัชรินทร์ เหมรา
dc.date.accessioned2017-05-04T07:47:28Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:31:47Z-
dc.date.available2017-05-04T07:47:28Z
dc.date.available2020-09-24T04:31:47Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2823-
dc.description.abstractงานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขีดความสามารถในการแข่งขันและความได้เปรียบ โดยเปรียบเทียบของการส่งออกเครื่องจักรกลและอุปกรณ์เครื่องจักรกลของไทยกับประเทศญี่ปุ่น ประเทศอินโดนีเซียและประเทศสิงคโปร์ กลุ่มตัวอย่างสาหรับงานวิจัยในครั้งนี้ คือ ผู้ผลิตเครื่องจักรกลและอุปกรณ์เครื่องจักรขนาดเล็ก ขนาดย่อม และขนาดกลางที่เงินทุนจดทะเบียนไม่เกิน 200 ล้านบาท ในเขตกรุงเทพมหานคร และ ปริมณฑล จำนวน 288 ราย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าดัชนีความได้เปรียบเทียบที่ปรากฏ (RCA) ผลการวิจัยพบว่า ประเทศไทยมีความสามารถในการส่งออกเครื่องจักรกลและอุปกรณ์ เครื่องจักรน้อยกว่าเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศญี่ปุ่น ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศสิงคโปร์ เนื่องจากค่าเฉลี่ย RCA มีค่าเท่ากับ 0.15, 0.91 และ 0.22 ตามลาดับ ข้อเสนอแนะที่ได้จากงานวิจัยนี้คือ ภาครัฐควรกำหนดนโยบายช่วยเหลือ ส่งเสริม และสนับสนุนด้านการพัฒนาแรงงาน สินเชื่อ และ แหล่งทุน การลดการกีดกันทางการค้า และเร่งสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศในภูมิภาคอาเซียน ในขณะที่ภาคอุตสาหกรรมควรเร่งสร้างความร่วมมือกับต่างประเทศเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ การถ่ายทอดความรู้ด้านเทคโนโลยี ตลอดจนการวิจัยหาองค์ความรู้ใหม่ ๆ ผลการวิเคราะห์จุดแข็ง พบว่า โรงงานของไทยมีมาตรฐานสากลที่เชื่อถือได้ และมีผู้มีความรู้และความสามารถในด้าน เครื่องจักรกลและอุปกรณ์เครื่องจักรทัดเทียมกับคู่แข่งได้en_US
dc.description.abstractThis research aims to examine the competitiveness and the comparative advantage of Thailand’s export in machinery and equipment by comparing with Japan, Indonesia, and Singapore. Samples in this research were 288 small- and medium-size firms with registered capital of less than 200 million baht and located in Bangkok and metropolitan area. Frequency, percentage, mean, standard deviation, and Revealed Comparative Advantage (RCA) index were employed for data analysis. The findings indicated that the competitiveness of Thailand’s export in machinery and equipment were lower than that of Japan, Indonesia and Singapore with the average RCA index equal to 0.15, 0.91 and 0.22, respectively. Recommendations drawn from the research results are as follows. The government sector should provide assistance, promotion, and supports on the human resource development, loans, and the source of funding. Further, the elimination of trade restriction as well as international trade collaboration among ASEAN nations are also needed. As for the industrial sector, it should build up the collaboration with international firms in terms of human resource development, technology transfer as well as innovation, urgently. The key strengths of Thai exporters are that Thai factories meet the international standard requirements and are internationally reliable. Moreover, the workers are highly skilled and knowledgeable about producing machinery and equipment.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ.en_US
dc.subjectขีดความสามารถในการแข่งขันen_US
dc.subjectการส่งออกเครื่องจักรกลและอุปกรณ์เครื่องจักรen_US
dc.subjectค่าดัชนีen_US
dc.subjectความได้เปรียบเทียบที่ปรากฏ (RCA)en_US
dc.titleขีดความสามารถในการแข่งขันการส่งออกเครื่องจักรกลและอุปกรณ์เครื่องจักรของไทยโดยเปรียบเทียบกับประเทศญี่ปุ่นอินโดนีเซีย และสิงคโปร์en_US
dc.title.alternativeThe competitiveness of Thailand’s export in machinery and equipment compared to Japan, Indonesia, and Singaporeen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-151492.pdfThe competitiveness of Thailand’s export in machinery and equipment compared to Japan, Indonesia, and Singapore3.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.