Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2845
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พิทักษ์ นามกร | |
dc.date.accessioned | 2017-05-22T08:04:50Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:22:59Z | - |
dc.date.available | 2017-05-22T08:04:50Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:22:59Z | - |
dc.date.issued | 2558 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2845 | - |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาสาเหตุของปัจจัยที่มีผลต่อการเกิดของเสียและเพื่อลดเปอร์เซ็นต์การเกิดของเสีย ประเภทเจียรแกนเพลาเล็กที่เกิดจากกระบวนการผลิตแกนเพลา (Shaft) ที่เป็นชิ้นส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้า โดยการนาหลักการของซิกซ์ ซิกมา (Six Sigma) มาประยุกต์ใช้ จากการศึกษาข้อมูลของเสียจากการผลิตในปี 2557 ด้วยการใช้หลักการซิกซ์ ซิกมา มาประยุกต์ใช้ในการลดของเสียที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตแกนเพลา โดยแบ่งออกเป็น 5 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนการระบุปัญหา การวัด การวิเคราะห์ การปรับปรุง และการควบคุม ผลการวิเคราะห์ พบว่า ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการเกิดปัญหาเจียรแกนเพลามีขนาดเล็กกว่าค่ามาตรฐาน คือ ตัว Sensor เกิดการเสื่อมสภาพ ผลการศึกษาพบว่าสามารถลดเปอร์เซ็นต์การเกิดของเสียจากเดิม 1.48% เหลือ 0.12% คิดเป็นร้อยละ 91.89% และยังสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตให้สูงขึ้นได้ โดย พิจารณาจากดัชนีชี้วัดความสามารถของกระบวนการ (Cpk) ที่มีการปรับตัวสูงขึ้นจาก 0.72 เป็น 1.30 โดยสามารถประเมินหาค่าแนวโน้มของการเจียรแกนเพลาเล็กกว่าค่ามาตรฐานในอนาคต โดย พิจารณาจากค่า Expected Overall Performance พบว่าค่า PPM Total มีการลดลงจาก 14,632.08 PPM เป็น 103.14 PPM | en_US |
dc.description.abstract | The purposes of this independent study were to 1) study the main causes of defects occurred during the grinding process using a small axle shaft, a part in an induction motor which has smaller diameter than that of the standard one, and 2) reduce these defects by implementing Six Sigma method. The defects, occurred during the manufacturing process of the small axle shaft in the year 2015, were analyzed through the Six Sigma technique. This technique was classified into 5 phases: 1) “Define - identification of the problem”, 2) Measure - quantification of the problem”, 3) “Analyze - identification of the causes of the problem”, 4) “Improve - implementation and assessment of the solution”, and 5) “Control - maintainability and sustainability of the solution”). The analyzed data showed that the root cause of the small-shaft process originated from the deterioration of the sensor part. The results from this process improvement revealed that the amount of defects was significantly reduced from 1.48% to 0.12%, or 91.89% reduction. Moreover, the Process Capability Index (Cpk) was also improved from 0.72 to 1.30. Lastly, the probability estimation in the small – shaft grinding by considering the Expected Overall Performance indicated that the PPM Total can be reduced from 14,632.08 PPM to 103.14 PPM. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ | en_US |
dc.subject | การควบคุมคุณภาพการผลิต | en_US |
dc.subject | ซิกซ์ ซิกมา | en_US |
dc.subject | กระบวนการผลิตแกนเพลา | en_US |
dc.title | การควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้าโดยใช้หลักการซิกซ์ ซิกมา | en_US |
dc.title.alternative | Manufacturing quality control of parts of induction motors by Six Sigma method | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
Appears in Collections: | การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-151693.pdf | การควบคุมคุณภาพในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้าโดยใช้หลักการซิกซ์ ซิกมา | 3.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.