Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2976
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนลินรัตน์ จันทร์น้อย
dc.date.accessioned2017-11-09T07:04:25Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:31:56Z-
dc.date.available2017-11-09T07:04:25Z
dc.date.available2020-09-24T04:31:56Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2976-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการจัดการห่วงโซ่อุปทานเชิงสิ่งแวดล้อมกับ ประสิทธิผลของการดำเนินงาน และความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการห่วงโซ่อุปทานเชิงสิ่งแวดล้อม กับประสิทธิผลของการดำเนินงานผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในอุตสาหกรรม เกษตรแปรรูปโดยมีขอบเขตด้านประชากรได้แก่ ผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูป กลุ่มตัวอย่างคือผู้ประกอบการจำนวน 200 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ข้อมูล แบบ Panel data ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติเท่ากับ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า ผลประกอบการมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกันกับประสิทธิผลในการ ดำเนินงานทั้งการลดต้นทุนและการเพิ่มผลผลิต บุคลากรหรือจำนวนการจ้างงาน มีความสัมพันธ์ใน ทิศทางเดียวกันกับประสิทธิผลการดำเนินงานในการเพิ่มผลผลิต การจัดการโลจิสติกส์เชิงสิ่งแวดล้อม (green logistics) มีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับประสิทธิผลการดำเนินงานในการลดต้นทุน และเงินลงทุนมีความสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับประสิทธิผลการดำเนินงานในการเพิ่มผลผลิต นอกจากนี้ผลการศึกษายังพบว่า ผู้ประกอบการที่ใช้การจัดการโลจิสติกส์เชิงสิ่งแวดล้อมสามารถลด ต้นทุนการดำเนินงานลงได้en_US
dc.description.abstractThis research aimed to study the green supply chain management, the operating effectiveness and the relationship between the green supply chain management and the operating effectiveness of small and medium enterprises in Agro-industry. The populations were small and medium enterprises in Agro-industry. The samples were 200 entrepreneurs of small and medium enterprises in the Agro-industry. The instrument used in the study was a questionnaire. The statistics used for data analysis were mean, percentage, standard deviation and panel data analysis at the statistical significant level of 0.05. The findings were as follows: turnover had a positive relationship with the operating effectiveness of the cost reduction and productivity, personnel or the number of employments had a positive relationship with the operating effectiveness of the productivity, green logistic management had a negative relationship with the operating effectiveness of the cost reduction and investment had a negative relationship with the operating effectiveness of the productivity. Moreover, the results showed that entrepreneurs using the green logistic management could reduce the operating cost.
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ.en_US
dc.subjectห่วงโซ่อุปทาน -- การจัดการen_US
dc.subjectประสิทธิผลของการดำเนินงานen_US
dc.subjectการจัดการห่วงโซ่อุปทานเชิงสิ่งแวดล้อมen_US
dc.titleการจัดการห่วงโซ่อุปทานเชิงสิ่งแวดล้อมกับประสิทธิผลการดำเนินงานของผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในอุตสาหกรรมเกษตรแปรรูปen_US
dc.title.alternativeGreen Supply Chain Management and Effectiveness of Small and Medium Enterprises in the Agro-Industryen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-154598.pdfGreen Supply Chain Management and Effectiveness of Small and Medium Enterprises in the Agro-Industry3.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.