Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3010
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศักรินทร์ หนูนุ่ม
dc.date.accessioned2017-12-29T03:44:15Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:39:12Z-
dc.date.available2017-12-29T03:44:15Z
dc.date.available2020-09-24T06:39:12Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3010-
dc.description.abstractเผือก (Colocacia esculenta L.) พืชที่มีชื่อเสียงของประเทศไทย ปัจจุบันเผือกได้ถูกนำมา แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์หนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOPs) อาทิ เผือกฉาบ เผือกแท่ง เป็นต้น สามารถสร้างรายได้ให้กับวิสาหกิจชุมชน ซึ่งปัญหาของเปลือกเผือกดิบ คือ ก่อให้เกิดการระคายเคืองผิวหนังจากกรดออกซาลิกที่เปลือกเผือก งานวิจัยนี้เพื่อพัฒนาและทดสอบสมรรถนะเครื่องปอกเปลือกเผือก วิธีการศึกษาประกอบด้วย 1) การออกแบบและสร้างเครื่องจักร โดยที่เครื่องปอกเปลือกเผือกมีส่วนประกอบสำคัญ 5 ส่วน คือ ก. ส่วนของโครงเครื่องจักรขนาด 400x500x500 มิลลิเมตร, ข. ชุดจับผลเผือก ค. ชุดปอกเปลือกซึ่งเป็นใบมีด ง. ชุดต้นกา ลัง มอเตอร์ 0.5 แรงม้า 220 โวลต์ และ จ. ชุดถาดรองรับ 2) ทดสอบและประเมินสมรรถนะการทำงานของเครื่อง โดยมีปัจจัยควบคุม 3 ปัจจัย ได้แก่ ก. พันธุ์เผือก (หอม) ข. ขนาดของเผือก (เล็ก, กลาง, ใหญ่) และ ค. ความเร็วรอบชุดปอก (8, 12,16, 20, 24 รอบ/นาที) ปัจจัยที่ประเมินคือ ประสิทธิภาพการปอก เปอร์เซ็นต์เปลือกติดค้าง และอัตราการทำงานของเครื่อง 3) การวิเคราะห์เศรษฐศาสตร์วิศวกรรมของเครื่องปอกเปลือกเผือก ผลการทดสอบ พบว่า สภาวะการทำงานที่เหมาะสมของเครื่องอยู่ ณ ความเร็วรอบ 8 รอบ/นาที แสดงค่าประสิทธิภาพการปอกและอัตราการทำงานของเครื่องสูงสุด สาหรับเผือกขนาด เล็ก,กลาง, ใหญ่ เท่ากับ 74.18±5.72 %, 12.07±1.73 กิโลกรัมต่อชั่วโมง, 76.30±5.92 %, 12.08±2.54 กิโลกรัมต่อชั่วโมง และ 77.08±5.53 %, 16.12±2.53 กิโลกรัมต่อชั่วโมง ตามลา ดับ ทั้งนี้เครื่องสามารถทำงานได้มากกว่าแรงงานคนโดยเฉลี่ย 2 เท่า (แรงงานคนสามารถทำงานได้ 8.8±4.33 กิโลกรัมต่อชั่วโมง) เมื่อให้เช่าเครื่องในราคา 5 บาทต่อกิโลกรัม มีจุดคุ้มทุนที่ 565.19 กิโลกรัมต่อปี และระยะเวลาการคืนทุน 1 ปีen_US
dc.description.abstractTaro (Colocacia esculenta L.) is a popular crop in Thailand. At present, taro is processed into several OTOP products including sweetened taro chips and taro fries which can generate revenue for local enterprises. The problem with peeling fresh taro by hand is skin irritation caused by an oxalic acid found in the peels. This research was aimed to develop and test the performance of a taro-peeling machine. The research consisted of three phases. The first phase involved designing and fabricating the machine which consisted of five parts: a steel structure of 400x500x500 mm., a chuck, peeling blades, a 0.5 HP, 220 V electric motor, and a supporting unit. In the second phase, the machine’s performance is tested and evaluated. The three control factors were the taro cultivar (Hom), the taro grades (small, medium, large) and the peeling speeds (8, 12, 16, 20, 24 rpm). The machine was also evaluated for its efficiency, capacity and the percentage of remaining skin. In the third phase, an engineering economy analysis of the machine was conducted. The testing results indicated that the speed at 8 rpm produced the maximum efficiency and capacity in peeling the small, medium, and large grades at 74.18±5.72 %, 12.07±1.73 kg/h; 76.30±5.92 % , 12.08±2.54 kg/h; and 77.08±5.53 % , 16.12±2.53 kg/h respectively, which was approximately twice higher than that produced by a skilled worker at 8.8±4.33 kg/h. The engineering economy analysis revealed that renting a peeler at the rate of 5 baht/kg would yield a break-even point of 565.19 kg/year and a payback in 1 yearen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องจักรกลเกษตรen_US
dc.subjectเครื่องปอกเปลือกen_US
dc.subjectการพัฒนาอาชีพen_US
dc.subjectเครื่องปอกเปลือกเผือกen_US
dc.titleการพัฒนาเครื่องปอกเปลือกเผือกen_US
dc.title.alternativeDevelopment of taro shell peeleren_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-154623.pdfการพัฒนาเครื่องปอกเปลือกเผือก9.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.