Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3021
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorขันติยา, สุกุณา
dc.date.accessioned2018-01-11T07:53:03Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:22:12Z-
dc.date.available2018-01-11T07:53:03Z
dc.date.available2020-09-24T04:22:12Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3021-
dc.description.abstractการค้นคว้า อิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อพฤติกรรมการ ปรับตัวด้านการทำงานของแรงงานในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และ 2) ปัจจัยความรู้ ความ เข้าใจสิ่งแวดล้อมภายนอกที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการปรับตัวด้านการทำงานของแรงงานใน วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดปทุมธานี ภายหลัง เข้า สู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ แรงงานในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดปทุมธานี โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล จำนวน 400 ชุด สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมติฐานด้วยสถิติ Independent Samples t-test, One-Way ANOVA และ Multiple Linear Regression ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า แรงงานที่มีอายุ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระดับการศึกษา สถานภาพที่แตกต่างกัน มีผลต่อพฤติกรรมการปรับตัวด้านการทำงานแตกต่างกัน และพบว่า ปัจจัย ความรู้ ความเข้าใจสิ่งแวดล้อมภายนอก ได้แก่ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรมและ ด้าน เทคโนโลยี มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการปรับตัว ด้านการทำงานของแรงงานในวิสาหกิจขนาด กลางและขนาดย่อมในจังหวัดปทุมธานี ภายหลังเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในระดับปานกลาง ที่ระดับ นัยสำคัญ ทางสถิติ 0.05en_US
dc.description.abstractThis independent study aimed to study 1) the personal factors affecting the work adjustment behavior of small and medium enterprises of workers, and 2) the cognitive of external environment in relation to work adjustment behavior of small and medium enterprises of workers in Pathum Thani province after ASEAN Economic Community integration. The samples used in this study were 400 small and medium enterprises of workers in Pathum Thani province by using questionnaires as a research instrument to collect data. The statistics for hypothesis testing were Independent Sample t-test, One-way ANOVA and Multiple Linear Regression at the significance level of 0.05. The results of hypothesis testing revealed that workers with different age, income, education and status had different effects on the work adjustment behavior. The cognitive of external environment factors including economic, society and culture and technology had relationship to work adjustment behavior of small and medium enterprises of workers in Pathum Thani province after ASEAN Economic Community integration at the moderate significance level of 0.05.
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิ. วิชาเอกธุรกิจระหว่างประเทศ.en_US
dc.subjectการปรับตัวด้านการทำงานen_US
dc.subjectแรงงานen_US
dc.subjectวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมen_US
dc.subjectความรู้en_US
dc.subjectความเข้าใจen_US
dc.titleพฤติกรรมการปรับตัวด้านการทำงานของแรงงานในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดปทุมธานี ภายหลังเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนen_US
dc.title.alternativeWork Adjustment Behavior of Small and Medium Enterprises of Workers in Pathum Thani Province after ASEAN Economic Community Integrationen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-155512.pdfWork Adjustment Behavior of Small and Medium Enterprises of Workers in Pathum Thani Province after ASEAN Economic Community Integration3.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.