Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3039
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorสุวิวัฒน์, ลิ้มตระกูล
dc.date.accessioned2018-01-15T08:10:47Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:22:15Z-
dc.date.available2018-01-15T08:10:47Z
dc.date.available2020-09-24T04:22:15Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3039-
dc.description.abstractการศึกษาฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาระบบสนับสนุนการตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์ โดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ จัดลำดับเกณฑ์สำคัญในการเลือกซื้อรถยนต์โดยเปรียบเทียบ เกณฑ์ต่าง ๆ ของผู้ที่กำลังตัดสินใจในการเลือกซื้อรถยนต์แต่ละยี่ห้อมาคำนวณเปรียบเทียบกันเพื่อ หาทางเลือกที่ดีที่สุด ขั้นตอนการดำเนินงานศึกษา ประกอบด้วยการเก็บรวบรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ โดยใช้แบบสอบถามที่พัฒนาขึ้นตามหลักของกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ โดยมีเกณฑ์หลัก 3 เกณฑ์ คือ ด้านความปลอดภัย ด้านความประหยัด ด้านความทันสมัย และเกณฑ์รอง 9 เกณฑ์ คือ ระบบถุงลมนิรภัย ระบบควบคุมเสถียรภาพการทรงตัว ระบบเบรคฉุกเฉินอัตโนมัติ ระบบรถกึ่งไฟฟ้า รถพลังงานทางเลือก ระบบเชื้อเพลิงทางเลือก ระบบดับ-สตาร์ทแบบปุ่มกด ระบบช่วยจอดอัตโนมัติ และระบบไฟหน้า-ปัดน้า ฝนอัตโนมัติ ในการใช้ระบบผู้ใช้จะกำหนดคะแนนของเกณฑ์แต่ละเกณฑ์ จากนั้นระบบจะทำการวิเคราะห์ และนำ เสนอทางเลือกที่เหมาะสม 3 ทางเลือกให้กับผู้ใช้ ผลการศึกษา พบว่า การตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์โดยใช้กระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์ ที่พัฒนาขึ้นสามารถนำเสนอเกณฑ์การตัดสินใจเลือกซื้อรถยนต์โดยเรียงลำดับเริ่มต้นจากเกณฑ์ด้าน ความปลอดภัย ความประหยัด และสุดท้ายด้านความทันสมัย สำหรับเกณฑ์รองเรียงลำดับความสำคัญ จากมากไปหาน้อยสามอันดับแรก ได้แก่ ปริมาณระบบถุงลมนิรภัย ระบบควบคุมเสถียรภาพการทรงตัว และระบบรถกึ่งไฟฟ้า เมื่อนำผลการคำนวณค่าน้ำหนักความสำคัญจากระบบที่พัฒนาขึ้น ทำให้ผู้ใช้ ทราบทางเลือกที่เหมาะสม 3 ลำดับเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจต่อไปen_US
dc.description.abstractThis study aimed to develop a decision-making support system for car buying using Analytical Hierarchy Process (AHP). This was done by comparing various criteria in decision making to find out the best alternative. Questionnaire was employed to ask experts for their opinions. It was developed based on the principle of hierarchical analysis consisting of 3 main factors: security, economics, and modernity; and 9 secondary factors: air bag system, stability control system, autonomous emergency braking system, hybrid car system, CNG car system, alternative fuel system, push start/stop system, parking pilot system, automatic headlamp and rain wiper system. The system required users to set weight of each criterion, then analyzed the scores, and suggested three appropriate alternatives. The result showed that the developed was able to propose decision-making criteria ranging from security, economics and modernity. The top three secondary factors were ranged from air bags system, stability control system, and hybrid car system. The calculation of weight importance on this system allowed users to choose three appropriate alternatives to support their decision-making.
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกระบบสารสนเทศ.en_US
dc.subjectระบบสนับสนุนการตัดสินใจen_US
dc.subjectกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์en_US
dc.titleการเลือกซื้อรถยนต์โดยพิจารณาจากปัจจัยด้านเทคโนโลยีด้วยกระบวนการลำดับชั้นเชิงวิเคราะห์en_US
dc.title.alternativeBuying a Car Based on Technological Factors by Using Analytical Hierarchy Process: AHPen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-155527.pdfBuying a Car Based on Technological Factors by Using Analytical Hierarchy Process: AHP10.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.