Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3069
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorกิตติรักษ์, แสนอุ่น
dc.date.accessioned2018-02-12T03:50:34Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:24:09Z-
dc.date.available2018-02-12T03:50:34Z
dc.date.available2020-09-24T04:24:09Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3069-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระยะเวลาแก้ไข กระแสไฟฟ้าขัดข้อง กรณีศึกษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก เพื่อนำไปใช้ ปรับปรุงวิธีการดำเนินการแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ข้อมูลสถิติการแก้ไขกระแสไฟฟ้าขัดข้องของการไฟฟ้า ส่วนภูมิภาค อำเภอองครักษ์ จำนวนทั้งสิ้น 600 รายการ โดยข้อมูลที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งได้จากแผนกก่อสร้างและปฏิบัติการ (ผกป.) ที่บันทึกข้อมูลไว้ การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ สถิติเชิงอนุมาน คือ Multiple Regression Analysis โดยกำหนดระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ในการทดสอบสมมติฐาน ผลการศึกษา พบว่า เมื่อกำหนดให้ปัจจัยอื่น ๆ คงที่ ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อระยะเวลาแก้ไข กระแสไฟฟ้าขัดข้องมากที่สุด คือ สภาพอากาศฝนตก จะส่งผลกระทบต่อระยะเวลาในการแก้ไข กระแสไฟฟ้าขัดข้องเพิ่มขึ้น 29.30 นาที เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาที่ฝนไม่ตก ในขณะที่ช่วงเวลา กลางคืนจะส่งผลกระทบต่อระยะเวลาในการแก้ไขกระแสไฟฟ้าขัดข้องเพิ่มขึ้น 18.24 นาที เมื่อ เปรียบเทียบกับช่วงเวลากลางวันen_US
dc.description.abstractThis study aimed to improve the process of electrical outage repairs by studying the factors affecting electrical outage repair time provided by a case study of the Provincial Electricity Authority, Ongkharak District, Nakhon Nayok Province. The sample group consisted of 600 items of statistical information on solutions to the electrical outage of Provincial Electricity Authority, Ongkharak district. The researcher used the secondary data recorded by the Construction and Operation Department. As for the quantitative approach, conducted data analysis by using descriptive statistics, such as mean, percentage, standard deviation, and inferential statistics, using Multiple Regression Analysis with a significance level of 0.05 for the hypothesis testing. The results showed that the factor that most considerably affected the duration of repairing the electrical outage was the rain factor, which increased the repairing time by 29.30 minutes compared to when there was no rain. After rain, the factor that affected repair time the most was the night time factor, which increased the repairing time by 18.24 minutes compared to during the daytime, ceteris paribus.
dc.language.isothaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ.en_US
dc.subjectกระแสไฟฟ้าขัดข้องen_US
dc.subjectไฟฟ้าขัดข้องen_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลกระทบต่อระยะเวลาแก้ไขกระแสไฟฟ้าขัดข้อง : กรณีศึกษา การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคอำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายกen_US
dc.title.alternativeTitle Factors Affecting the Duration of Repairing the Electrical Outage: Case Study of the Provincial Electricity Authority, Ongkharak District, Nakhon Nayok Provinceen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-155548.pdfFactors Affecting the Duration of Repairing the Electrical Outage: Case Study of the Provincial Electricity Authority, Ongkharak District, Nakhon Nayok Province2.62 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.