Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3098
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจักรพันธุ์ แก้วกัญหา
dc.date.accessioned2018-03-16T04:06:33Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:38:52Z-
dc.date.available2018-03-16T04:06:33Z
dc.date.available2020-09-24T06:38:52Z-
dc.date.issued2559
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3098-
dc.description.abstractโครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของผลการทดสอบในห้องปฏิบัติการของดินผสมซีเมนต์สำหรับใช้เป็นวัสดุชั้นรองพื้นทาง มีการทดลอง 4 ชนิด ได้แก่ การทดสอบแรงกด อัดทิศทางเดียว,การทดสอบแคลิฟอร์เนียแบริ่งเรโชแบบแช่น้ำ,การทดสอบกำลังรับแรงดัดโดยวิธีกดคานสองจุด และการทดสอบการรับน้ำหนักบรรทุกด้วยแผ่นเหล็ก ดินที่นำมาใช้ในการทดสอบมี 3 ชนิด ได้แก่ 1) ดินลูกรัง จาก อำเภอบ้านโป่ง จังหวัดราชบุรี 2) ดินทราย จาก อำเภอกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม 3) ดินเหนียว จาก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสาคร โดยใช้ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ชนิดที่ 1 เริ่มจากนำดินตัวอย่างผสมซีเมนต์มาบดอัดในโมลด์ทดสอบด้วยวิธีการบดอัดแบบสูงกว่ามาตรฐาน ปริมาณน้ำที่ผสมในระหว่างการบดอัดใช้เท่ากับค่าปริมาณน้ำที่เหมาะสม สำหรับโมลด์ที่ใช้ในการทดสอบมี 4 ชนิด ได้แก่ 1) โมลด์รูปทรงกระบอกมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 3.5 เซนติเมตร มีความสูงเท่ากับ 7.0 เซนติเมตรสำหรับการทดสอบแรงกดอัดทิศทางเดียว 2) โมลด์รูปทรงกระบอกมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ15.10 เซนติเมตร มีความสูงเท่ากับ 17.7 เซนติเมตร สำหรับการทดสอบแคลิฟอร์เนียแบริ่งเรโชแบบแช่น้ำ 3) โมลด์รูปคานมีขนาดเท่ากับ 7.5x7.5x35 ลูกบาศก์เซนติเมตร สำหรับการทดสอบกำลังดัด และ 4) โมลด์รูปกล่องขนาดเท่ากับ 150x150x15 ลูกบาศก์เซนติเมตร สำหรับการทดสอบกำลังรับบรรทุก สำหรับอายุการบ่มซีเมนต์ใช้เท่ากับ 28 วัน มีผลการทดสอบดังนี้ การเพิ่มขึ้นของปริมาณซีเมนต์ผสมเพิ่มในดิน มีผลทำให้ค่าแคลิฟอร์เนียแบริ่งเรโชแบบแช่น้ำ, ค่ากำลังรับแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้ำ. ค่าโมดูลัสการแตกร้าวและค่าโมดูลัสการต้านทานแรงกดของชั้นดิน มีค่าเพิ่มขึ้นตามอย่างมีนัยสำคัญ โดยความสัมพันธ์ของการทดสอบได้ถูกนำเสนอen_US
dc.description.abstractThe aims of this research was to investigate the relationships of laboratory test results of soils mixed cement for using as a subgrade material. Four types of testing ware conducted, comprised of unconfined compression test, soaked CBR test, third point loading test, and plate bearing test. The soil samples were derived from three different sources: 1) a laterite soil from Ban Pong District, Ratchaburi Province, 2) a sand from Kamphaeng Saen District, Nakhon Pathom Province, and 3) a clay from Meuang District, Samut Sakhon Province. The cement used was Portland Cement Type I. The soil sample mixed with cement ware compacted into the molds by the method of Modified Proctor Test. The quantity of water mixed in the soil sample during compaction was adjusted to the optimum moisture content. The four types of molds were used, comprised of 1) a cylinder mold (diameter 3.5 cm; height 7.00 cm) for the unconfined compression test, 2) a cylinder mold (diameter 15.10 cm; height of 17.7 cm) for the soaked CBR test, 3) a beam mold (size 7.5x7.5x35 cm3,and 4) a box mold (size 150x150x1 5 cm3)for the plate bearing test. The curing period was 28 days. The results, revealed that the increasing of cement being mixed could significantly increase the values of the soaked CBR, the undrained shear strength, the modulus of rupture, and the modulus of subgrade, The relationships of these testing results have been demonstrated.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาen_US
dc.subjectดินซีเมนต์ -- การทดสอบความแข็งแรงen_US
dc.subjectดิน -- การทดสอบen_US
dc.titleความสัมพันธ์ของผลทดสอบ การรับแรงเฉือน กำลังรับแรงแบกทานและกำลังรับแรงดัด สำหรับดินผสมซีเมนต์en_US
dc.title.alternativeRelationships of testing results on shear strength bearing capacity and flexural strength for soil cementen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-155571.pdfความสัมพันธ์ของผลทดสอบ การรับแรงเฉือน กำลังรับแรงแบกทานและกำลังรับแรงดัด สำหรับดินผสมซีเมนต์6.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.