Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3155
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorปิยานันท์ ทองโพธ์ิ
dc.date.accessioned2018-05-15T08:53:45Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:38:24Z-
dc.date.available2018-05-15T08:53:45Z
dc.date.available2020-09-24T06:38:24Z-
dc.date.issued2558
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3155-
dc.descriptionวพ HF 5415.523 ป619กen_US
dc.description.abstractสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในปัจจุบันของโรงงานผลิตชุดชั้นในตัวอย่าง คือ ความไม่สมดุลกัน ระหว่างยอดขายและยอดผลิตสินค้าส่งผลให้เกิดการสะสมของสินค้าคงคลังและทำให้ต้นทุนรวมจากการเก็บสินค้าสูงถึง 15,375,570 บาทต่อปี หรือประมาณ 1,281,297.50 บาทต่อเดือน เนื่องจากโรงงานกรณีศึกษาทำการวางแผนการผลิตโดยอาศัยประสบการณ์จากพนักงานเพียงอย่างเดียว ดังนั้นงานวิจัยนี้ จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพยากรณ์ความต้องการสินค้าจากข้อมูลยอดขายในอดีต และใช้ในการตัดสินใจวางแผนกำหนดปริมาณการสั่งผลิตสินค้า ระเบียบวิจัยประกอบด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลยอดขายและยอดผลิตสินค้า ทำการพยากรณ์ความต้องการสินค้าโดยรวม โดยใช้โปรแกรมวิเคราะห์ผลทางสถิติ Minitab ซึ่งพบว่าวิธีพยากรณ์รูปแบบวินเตอร์ความเหมาะสมมากที่สุด และใช้การพยากรณ์แบบปิรามิดช่วยในการหาปริมาณความต้องการสินค้าระดับย่อยในแต่ละรุ่นของสินค้า สำหรับการวางแผนการสั่งผลิตของโรงงานและคำนวณเปรียบเทียบต้นทุนรวมวัสดุคงคลังต่อปี ผลของการดำเนินงานพบว่า โรงงานกรณีศึกษาสามารถกำหนดปริมาณการสั่งผลิตใหม่ ซึ่งสอดคล้องกับความต้องการได้ และทำให้ต้นทุนรวมสินค้าคงคลังลดลงเหลือ 1,194,805.17 บาท ต่อปี หรือคิดเป็นลดลงร้อยละ 8.20en_US
dc.description.abstractThe present problematic condition of a lingerie factory was an imbalance between actual sales and production order which led to inventory accumulation. The total cost of the inventory was increased up to 15,375,570 Baht/year, or 1,281,297.50 Baht/month. This problem occurred from production planning based on only the experience of the staff. This study aimed to forecast future demand using historical product sales data. The demand forecast would then determine the amount of necessary production. The research methodology consisted of a sale and production data collection followed by an overall demand forecast using Minitab statistical analysis. The Minitab outcome showed that Winter's method was the most appropriate forecasting model. The pyramids forecast was applied to define production order quantity at a subordinate level in each volume in order to determine the production planning and calculate the inventory cost per year. The results revealed that the factory could determine a new production quantity in accordance with the production order and reduce inventory cost to 1,194,805.17 Baht/year, which accounted for 8.20 % of total cost.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ.en_US
dc.subjectการพยากรณ์ความต้องการen_US
dc.subjectการวางแผนการผลิตen_US
dc.subjectการพยากรณ์แบบปิรามิดen_US
dc.subjectต้นทุนสินค้าคงคลังen_US
dc.subjectdemand forecasten_US
dc.subjectpyramid forecasten_US
dc.subjectproduction planningen_US
dc.subjectinventory costen_US
dc.titleการประยุกต์เทคนิคการพยากรณ์ความต้องการสินค้าเพื่อวางแผนการผลิต กรณีศึกษาโรงงานผลิตชุดชั้นในen_US
dc.title.alternativeApplication of demand forecasting technique for production planning : A case study of a lingerie factoryen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-152405.pdfการประยุกต์เทคนิคการพยากรณ์ความต้องการสินค้าเพื่อวางแผนการผลิต กรณีศึกษาโรงงานผลิตชุดชั้นใน6.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.