Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3169
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | สหัส มีชะคะ | |
dc.date.accessioned | 2018-05-22T07:39:58Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:41:46Z | - |
dc.date.available | 2018-05-22T07:39:58Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:41:46Z | - |
dc.date.issued | 2559 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3169 | - |
dc.description | วพ TS 228.A2 ส468ก | en_US |
dc.description.abstract | การเชื่อมพอกแข็งเป็นหนึ่งในวิธีการสำคัญที่ทำให้เกิดการเพิ่มสมบัติทางกลของผิวชิ้นส่วนเครื่องจักรกลเกษตร อย่างไรก็ตามผิวหน้าที่มีความหยาบของแนวเชื่อมมีความจำเป็นต้องทำให้มีความเรียบก่อนนำไปใช้งาน ด้วยเหตุผลนี้การศึกษาหาค่าตัวแปรการตัดตกแต่งผิวสำเร็จโลหะเชื่อมพอกแข็งจึงมีการศึกษาและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการศึกษาผลกระทบของตัวแปรการกัดต่อความหยาบผิวโลหะเชื่อมพอกแข็งบนเหล็กกล้าคาร์บอน JIS-S50C และสมบัติการสึกหรอของเครื่องมือตัด โลหะเชื่อมพอกแข็งถูกสร้างขึ้นด้วยการเชื่อมอาร์กด้วยลวดหุ้มฟลักซ์บนแผ่นวัสดุเหล็กกล้าคาร์บอนปานกลาง JIS S50C ขนาดกว้าง 20 มิลลิเมตรยาว 80 มิลลิเมตรและหนา 20 มิลลิเมตรโลหะเชื่อมที่ได้ถูกนำไปทำการกัดปาดผิวหน้า ด้วยเครื่องมือตัดทา จากวัสดุคาร์ไบด์ (P40) ตัวแปรการกัดประกอบด้วยการกัดแบบใช้สารหล่อเย็นและไม่ใช้สารหล่อเย็น ความเร็วตัด 100-220 เมตรต่อนาทีอัตราป้อน 0.05-0.20 มิลลิเมตรต่อฟัน และความลึก 2 มิลลิเมตร ผลของการกัดผิวหน้าประกอบด้วย รูปร่างเศษตัด การสึกหรอของคมตัด และความหยาบผิวการกัดถูกทำการศึกษาและวิเคราะห์ ผลการทดลองโดยสรุปมีดังนี้ การสึกหรอของคมตัดที่ใช้ในการกัดโลหะเชื่อมที่มีชั้นรองพื้นมีค่าต่ำ กว่าโลหะเชื่อมที่ไม่มีชั้นรองพื้น การกัดผิวหน้าโลหะเชื่อมพอกแข็งไม่จำเป็นในการใช้สารหล่อเย็นเนื่องจากการสึกหรอของคมตัดมีค่าสูง ตัวแปรการกัดที่เหมาะสมทำให้เกิดความหยาบผิวเฉลี่ย 0.506 ไมโครเมตรและระยะการสึกหรอเฉลี่ยของคมตัด 680.65 ไมโครเมตรคือ แนวเชื่อมที่มีการสร้างชั้นรองพื้น การไม่ใช้สารหล่อเย็นความเร็วตัด 180 เมตรต่อนาทีอัตราป้อน 0.05 มิลลิเมตรต่อฟัน และความลึก 2 มิลลิเมตร | en_US |
dc.language.iso | other | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมการผลิต. | en_US |
dc.subject | การเชื่อมพอกแข็ง | en_US |
dc.subject | การเชื่อมอาร์ | en_US |
dc.subject | การกัดผิวหน้า | en_US |
dc.subject | การสึกหรอ | en_US |
dc.subject | การกัดผิวหน้า | en_US |
dc.subject | ความหยาบผิว | en_US |
dc.subject | สารหล่อเย็น | en_US |
dc.subject | hard-faced welding | en_US |
dc.subject | face-milling | en_US |
dc.subject | roughness | en_US |
dc.subject | wear | en_US |
dc.subject | cutting fluid | en_US |
dc.title | การศึกษาความสามารถในการตัดเฉือนแนวเชื่อมพอกแข็งบนผิวเหล็กกล้าคาร์บอน JIS-S50C | en_US |
dc.title.alternative | Machinability study of hatdfacing welding bead on JIS-S50C carbon steel surface | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-152419.pdf | การศึกษาความสามารถในการตัดเฉือนแนวเชื่อมพอกแข็งบนผิวเหล็กกล้าคาร์บอน JIS-S50C | 14.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.