Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3200
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวันชัย แก้วดี
dc.date.accessioned2018-10-03T04:33:20Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:11:06Z-
dc.date.available2018-10-03T04:33:20Z
dc.date.available2020-09-24T04:11:06Z-
dc.date.issued2560
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3200-
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีความมุ่งหมายเพื่อการพัฒนารูปแบบและกระบวนการผลิตสื่อวีดิทัศน์ โดยการใช้เทคโนโลยีสตูดิโอเสมือน (3D Virtual Studio) รวมถึงศึกษาผลสัมฤทธิ์ในการเรียนและความพึงพอใจที่มีต่อสื่อวีดิทัศน์การสอนที่ใช้เทคโนโลยีสตูดิโอเสมือน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักศึกษาระดับปริญญาตรี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 สาขาวิชาเทคโนโลยีสื่อดิจิทัล คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี โดยใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เครื่องมือในการวิจัย คือ สื่อวีดิทัศน์การสอนที่ใช้เทคโนโลยีสตูดิโอเสมือน (3D Virtual Studio) เรื่อง เทคนิคการสร้างฉากในสตูดิโอเสมือน แบบประเมินคุณภาพสื่อวีดิทัศน์สำหรับผู้เชี่ยวชาญ แบบทดสอบก่อนและหลังเรียน และแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อวีดิทัศน์การสอน โดยใช้การวิเคราะห์ข้อมูลหาร้อยละ ค่ามัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ของคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนและหลังเรียน (t-test for dependent samples) ผลจากการวิจัยครั้งนี้ พบว่า สื่อวีดิทัศน์การสอนที่ใช้เทคโนโลยีสตูดิโอเสมือน (3D Virtual Studio) เรื่อง เทคนิคการสร้างฉากในสตูดิโอเสมือน ช่วยให้กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ความเข้าใจสูงขึ้น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และกลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจสื่อวีดิทัศน์การสอน อยู่ในระดับมาก ( ค่าเฉลี่ย = 3.74, SD = 0.28 ) ต่อรูปแบบการนำเสนอของสื่อและประโยชน์ที่ได้รับen_US
dc.description.abstractThe purposes of this study was to model development and production process of video teaching materials by using virtual studio technology (3D virtual studio) and to find the satisfaction of users toward video aids. The sample of this study was 30 lecturers in the first semester of academic year 2018 from Faculty of Mass Communication Technology Rajamagala University of Technology Thanyaburi. The sample was selected by Purposive sampling. The research instrument were video aids for techniques to create scenes in virtual studio. Forms of video aids quality assessment for experts and video aids satisfaction. The data were statistically analysed by percentage, mean, standard deviation and comparison of t-test for dependent samples. The result of this study revealed that video aids for the develop 3D virtual screen. The samples in knowing and comprehending video which was significantly increased at .01 level and user’s satisfaction was at the good level ( Mean = 3.74, SD = 0.28 ) in quality of matters and advantages
dc.description.sponsorshipทุนสนับสนุนจากกองทุนส่งเสริมงานวิจัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ประจำปี 2560en_US
dc.language.isoภาษาไทยen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศen_US
dc.subjectกระบวนการผลิตสื่อวีดิทัศน์en_US
dc.subjectเทคโนโลยีสตูดิโอเสมือนen_US
dc.subject3D Virtual Studioen_US
dc.titleการพัฒนารูปแบบและกระบวนการผลิตสื่อวีดิทัศน์การสอน โดยการใช้เทคโนโลยีสตูดิโอเสมือน (3D Virtual Studio)en_US
dc.title.alternativeThe Development of Instructional Video by Virtual Studio Technology (3D Virtual Studio)en_US
dc.typeวิจัยen_US
Appears in Collections:วิจัย (Research - ARIT)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
20181003-research-wanchai k.pdfThe Development of Instructional Video by Virtual Studio Technology (3D Virtual Studio)13.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.