Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3430
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorนิรุตติ นิลแก้ว
dc.date.accessioned2019-10-24T07:43:23Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:41:26Z-
dc.date.available2019-10-24T07:43:23Z
dc.date.available2020-09-24T06:41:26Z-
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3430-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้นำเสนอการวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะการผลิตไฟฟ้าด้วยโปรแกรม จำลอง PVsyst กับการติดตั้งจริงของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 6 MW จังหวัดปราจีนบุรี โดยทำการวิเคราะห์เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดฟิล์มบางที่มีคุณสมบัติด้านความไวต่อการเปลี่ยนแปลงของ แสงในช่วงกว้าง เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบในการวิเคราะห์ทางด้านการลงทุนและเศรษฐศาสตร์ โรงไฟฟ้า การวิเคราะห์เปรียบเทียบสมรรถนะการผลิตไฟฟ้าโดยใช้ข้อมูลจากการการจำลองผลด้วย โปรแกรมจำลอง PVsyst และค่ากำลังการผลิตจริงในปี 2559 ปี 2560 และ 2561 การวิเคราะห์ความ คลาดเคลื่อนสัมพันธ์ถูกนำมาประยุกต์ใช้ประกอบการพิจารณาค่าเบี่ยงเบนจากการออกแบบด้วย โปรแกรมจำลอง PVsyst กับค่ากำลังการผลิตจริงของสถานีไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ผลการศึกษาพบว่าค่ากำลังการผลิตรวมที่ได้จากโปรแกรมจำลอง PVsyst มีค่าสูงกว่ากำลัง การผลิตได้จริง โดยในปี 2559 ปี 2560 และปี 2561 มีกำลังการผลิตรวมจริงน้อยกว่า คิดเป็นร้อยละ -2.89 -5.75 และ -7.2 ตามลำดับ ดังนั้นการศึกษาสมรรถนะการผลิตไฟฟ้าด้วยโปรแกรมจำลอง PVsyst กับค่าสมรรถนะการผลิตไฟฟ้าจากการติดตั้งจริงของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ จึงมี ความสำคัญต่อการพิจารณาในการตัดสินใจสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ ซึ่งค่ากำลังการผลิต ไฟฟ้าด้วยโปรแกรมจำลอง PVsyst จะมีค่าต่ำกว่าค่าที่ผลิตได้จริงen_US
dc.description.abstractThis thesis presented a comparison of performance analysis between simulation program and real installation data of a 6 MW PV power plant in Prachin Buri province. Thin-film solar panels which were sensitive to radiation fluctuation in a wide range, were selected for the PV power plant. The performance analysis will be used for an investment and an economics analysis of the PV power plant. Comparison analysis of power generation performance was investigated by using data of PVsyst simulation program and actual power generation capacity in the year 2016, 2017 and 2018. Relative Error Analysis was applied to consider the deviation from PVsyst simulation program and actual power generation of the PV power plant. The study results showed that in the year 2016, 2017 and 2018, the total power generation capacity obtained from the PVsyst simulation program was higher than the actual power generation capacity. The actual power generation was lower at -2.89%, -5.75% and -7.2% respectively. The results of the study suggest that in order to make a decision to construct a PV power plant, it is necessary to ensure that the power generation capacity of PVsyst simulation program is lower than the actual power generation of PV power plant.en_US
dc.language.isootheren_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์en_US
dc.subjectสมรรถนะโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์en_US
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์en_US
dc.titleการวิเคราะห์สมรรถนะการผลิตไฟฟ้าด้วยโปรแกรมจำลองเปรียบเทียบกับการติดตั้งจริงของโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ขนาด 6 MWen_US
dc.title.alternativeComparison of Performance Analysis Between Simulation Program and Real Installation Data of a 6 MW PV Power Planten_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT 160330.pdfComparison of Performance Analysis Between Simulation Program and Real Installation Data of a 6 MW PV Power Plant11.32 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.