Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/349
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธนัช ศรีพนม
dc.contributor.authorอัคครัตน์ พูลกระจ่าง
dc.date.accessioned2012-01-25T04:13:35Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:47:57Z-
dc.date.available2012-01-25T04:13:35Z
dc.date.available2020-09-24T04:47:57Z-
dc.date.issued2550
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/349-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ ได้กำหนดวัตถุประสงค์การวิจัยคือ ศึกษาและออกแบบชุดทดสอบการสั่นสะเทือน แบบ Electro dynamic สำหรับทดสอบผลิตภัณฑ์ขนาดเล็กทางด้านอุปกรณ์ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตในโรงงานอุตสาหกรรม โดยมีวิธีการดำเนินการวิจัย เริ่มจากการศึกษาทฤษฎีของแรงที่เกิดจากแม่เหล็กไฟฟ้า แรงทางกลที่เกิดจากการสั่นสะเทือน ตัวแปรที่สำคัญในการออกแบบ จากนั้นได้ทำการออกแบบโดยการกำหนดมวลทดสอบอยู่ที่ไม่เกิน 0.5 กิโลกรัมและดำเนินการสร้างชุดทดสอบการสั่นสะเทือน แบบ Electro dynamic แล้วจึงทำการทดลองการทำงานเพื่อหาประสิทธิภาพในการถ่ายทอดแรงทางไฟฟ้าเป็นแรงทางกล ตามสัญญาณควบคุมแบบ Sine wave จากผลการศึกษาวิจัยและทำการทดลองแสดงให้เห็นได้ว่า ชุดทดสอบการสั่นสะเทือนสามารถยกมวลทดสอบอยู่ที่ 0.502 กิโลกรัม ความเร่งในการยก 6.5 G เมื่อจ่ายกระแสไฟฟ้าเข้าที่ ขดลวดอาร์เมเจอร์ 5 แอมแปร์ และเมื่อคิดประสิทธิภาพในการถ่ายทอดแรงไฟฟ้าไปเป็นแรงทางกล จากการนำค่า Output/Input แล้วจะได้ผลเฉลี่ยคือ 88 % ดังนั้นจึงสามารถบอกได้ว่าชุดทดสอบการสั่นสะเทือนที่ออกแบบและสร้างขึ้นนี้ สามารถนำไปใช้ในการทดสอบการสั่นสะเทือนของสินค้า บรรจุภัณฑ์ หรือผลิตภัณฑ์อื่นๆที่ต้องการทดสอบได้ คำสำคัญ : ชุดทดสอบสั่นสะเทือน, แม่เหล็กไฟฟ้าen_US
dc.description.abstractThe objective of this research was to study and design of electro-dynamic vibration Tester used to test small products of electrical and electronic equipments made by industrial factory. The research methodology started from studying theory of force from electromagnetic fields, mechanical force from vibration, and some important factors for design. The design was made by the testing mass not exceed 0.5 kg and electro-dynamic vibration Tester was constructed. After that, the experiment was done to find the efficiency of the translation from electromagnetic force to mechanical force in case control signal : sine wave. The experiment showed that Electro-dynamic Vibration Tester can lift testing mass 0.52 kg at the acceleration 6.5 G when the input electricity at amateur was 5 amp. When the efficiency of the transition from electromagnetic force to mechanical force was calculated by value of output/input, the average of efficiency was 88%. Therefore, it could be concluded that this Electro-dynamic Vibration Tester can be used to test the vibration of products, packaging and others needed the test.en_US
dc.description.sponsorshipมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมen_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม.สาขาวิชาครุศาสตร์เครื่องกลen_US
dc.subjectชุดทดสอบการสั่นสะเทือน -- วิจัยen_US
dc.subjectอิเล็กไตรไดนามิกส์en_US
dc.titleการสร้างชุดทดสอบการสั่นสะเทือนแบบอิเล็กโตรไดนามิกส์en_US
dc.title.alternativeConstruct of elctro-dymamic vibration testeren_US
dc.typeResearchen_US
dc.contributor.Roleผู้ให้ทุน.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
Appears in Collections:วิจัย (Research-TECHED)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
การสร้างชุดทดสอบการสั่นสะเทือนแบบอิเล็กโตรไดนามิกส์.pdfConstruct of elctro-dymamic vibration tester933.29 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.