Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3572
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorประภัสสร สิทธิ์ขุนทด
dc.date.accessioned2019-12-25T07:33:41Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:26:16Z-
dc.date.available2019-12-25T07:33:41Z
dc.date.available2020-09-24T04:26:16Z-
dc.date.issued2561
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/3572-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบการส่งเสริมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องแต่งกายแบบลำลองในเขตกรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการทำวิจัยครั้งนี้ คือ กลุ่มประชากรสัญชาติไทยที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานคร เพศชายและเพศหญิงโสด ที่มีอายุตั้งแต่ 15 ปี ขึ้นไป จำนวน 400 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล สถิติที่ใช้ ในการวิเคราะห์ คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และแจกแจงความถี่ สถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน คือ ไคสแคว์ และสถิติสหสัมพันธ์อย่างง่ายเพียร์สัน ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 21-25 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี อาชีพนักเรียน/นักศึกษา รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,001-30,000 บาท และมีสถานภาพ โสด รูปแบบการส่งเสริมการตลาดที่ผู้บริโภคให้ความสำคัญมากที่สุด คือ ด้านการขายโดยบุคคล ด้านการส่งเสริมการขาย ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการตลาดทางตรง และ ด้านการโฆษณา ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีลักษณะส่วนบุคคลของผู้บริโภค ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ รายได้ และสถานภาพ แตกต่างกัน มีพฤติกรรมการซื้อเครื่องแต่งกายแบบลำลองแตกต่างกัน และรูปแบบการส่งเสริมการตลาดได้แก่ การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การขายโดยบุคคล การส่งเสริมการขาย และการตลาดทางตรง มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการซื้อเครื่องแต่งกายแบบลำลองในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.description.abstractThe research aimed to study the patterns of marketing promotion affecting purchasing behavior on casual wear in Bangkok. The sample used in this study was 400 Thai people both male and female with the age above 15 years old, living in Bangkok. The questionnaire was used as an instrument to collect the data. The data statistics used to analyze were mean, standard deviation, and frequency distribution. The Chi-Square and Pearson Correlation were used for the hypothesis. The study revealed that most of the respondents were single female between 21-25 years old with a bachelor’s degree earning monthly income between 10,001-30,000 baht. The most important patterns of marketing promotion that customers considered were personal selling, public relations, direct marketing and advertising, respectively. The hypothesis test revealed that customers in Bangkok with different personal characteristics in gender, age, education level, occupation, income and status affected different buying behaviors on casual clothing. Apart from this, marketing promotion methods including advertising, public relations, personal selling, sales promotion and direct marketing are related to buying behavior on casual wear in Bangkok.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. วิชาเอกการตลาดen_US
dc.subjectการตลาด – การตัดสินใจen_US
dc.subjectการเลือกซื้อสินค้า – พฤติกรรมen_US
dc.subjectพฤติกรรมผู้บริโภคen_US
dc.subjectรูปแบบการส่งเสริมการตลาดen_US
dc.subjectMarketing -- Decision makingen_US
dc.subjectConsumer behavioren_US
dc.subjectmarketing promotionen_US
dc.titleรูปแบบการส่งเสริมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องแต่งกายแบบลำลองในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativePatterns of marketing promotion affecting purchasing behavior on casual wear in Bangkoken_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-161634.pdfรูปแบบการส่งเสริมการตลาดที่มีผลต่อพฤติกรรมการซื้อเครื่องแต่งกายแบบลำลองในเขตกรุงเทพมหานคร74.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.