Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3698
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorดิษฐวัฒน์ แดงฉ่ำ-
dc.date.accessioned2020-11-25T03:54:09Z-
dc.date.available2020-11-25T03:54:09Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3698-
dc.description.abstractปัจจุบันได้มีการนำเถ้าลอยในปริมาณที่มากมาใช้ในอุตสาหกรรมคอนกรีต อย่างไรก็ตามจะมีปริมาณเถ้าลอยบางส่วนที่ไม่มีการนำมาใช้ ถูกนำไปทิ้งใกล้บริเวณโรงไฟฟ้า โดยอาจสัมผัสกับความชื้นของสภาพแวดล้อมและน้ำฝน มีความเป็นได้ที่จะนำเอาเถ้าลอยเปียกกลับมาใช้ใหม่ โดยต้องศึกษาผลกระทบของเถ้าลอยเปียกต่อสมบัติของคอนกรีต งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตผสมเถ้าลอยเปียกเพื่อพัฒนาการนำเถ้าลอยเปียกไปใช้ประโยชน์ ในการศึกษาครั้งนี้ใช้เถ้าลอยจากโรงไฟฟ้า BLCP จังหวัดระยอง จำนวน 2 ชนิด โดยใช้เถ้าลอยทั้งสภาพแห้งและเปียก แทนที่ในปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ ประเภทที่ 1 (OPC) แล้วทดสอบสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตผสมเถ้าลอยเปียก ผลการศึกษาพบว่า การขยายตัวออโตเคลฟของเพสต์ผสมเถ้าลอย (ทั้งสภาพแห้งและสภาพเปียก) ไม่มีการขยายตัวโดยมีแนวโน้มที่จะหดตัว ส่วนการหดตัวแบบออโตจีนัสและแบบแห้ง ของมอร์ต้าร์ผสมเถ้าลอยมีค่าน้อยกว่าของ OPC ล้วน โดยการหดตัวแบบออโตจีนัสและแบบแห้งของมอร์ต้าร์ผสมเถ้าลอยเปียกมีค่าไม่แตกต่างกับของเถ้าลอยแห้ง ยกเว้นการหดตัวแบบออโตจีนัสของมอร์ต้าร์ผสมเถ้าลอยเปียกที่ระยะสัมผัสความชื้น 1 สัปดาห์ มีค่าน้อยกว่าของเถ้าลอยแห้ง ส่วนเถ้าลอยเปียกที่ปริมาณความชื้นต่างกันและระยะสัมผัสความชื้นที่ต่างกัน ไม่มีผลต่อการหดตัวแบบออโตจีนัสและแบบแห้งของมอร์ต้าร์ นอกจากนี้พบว่า การเกิดคาร์บอเนชั่นของคอนกรีตผสมเถ้าลอยมีค่ามากกว่าของ OPC ล้วน โดยการเกิดคาร์บอเนชั่นของคอนกรีตผสมเถ้าลอยเปียกมีค่าน้อยกว่าของเถ้าลอยแห้ง และปริมาณความชื้นที่ต่างกันและระยะสัมผัสความชื้นที่ต่างกันของเถ้าลอยเปียกไม่มีผลต่อการเกิดคาร์บอเนชั่นของคอนกรีต สุดท้ายความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตผสมเถ้าลอยมีค่าดีกว่าของ OPC ล้วน โดยความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตผสมเถ้าลอยเปียกที่ระยะสัมผัสความชื้น 1 สัปดาห์มีค่าน้อยกว่า ในขณะที่ของ 1 เดือนมีค่าไม่แตกต่าง เมื่อเปรียบเทียบกับของคอนกรีตผสมเถ้าลอยแห้ง โดยเถ้าลอยเปียกที่มีปริมาณความชื้นมากส่งผลให้มีความต้านทานการแทรกซึมคลอไรด์ของคอนกรีตที่ด้อยลงen
dc.description.abstractCurrently, large quantities of fly ash are being used in the concrete industry. However, some amount of fly ash dumped near the power plant area and exposed to humidity of the environment and rainwater has not been used yet. Therefore, it is possible to recycle this wet fly ash by studying the effect of wet fly ash on the properties of concrete. The objective of this research is to study the durability of concrete mixed with wet fly ash to develop the utilization of wet fly ash. In this study, both dry and wet fly ashes from the BLCP power plant in Rayong province were partially replaced Portland cement type 1 (OPC) and the durability properties of concrete mixed with wet fly ash were investigated. The study results revealed that the autoclave expansion of paste in both dry and wet fly ashes was not found, but a tendency to shrinkage was shown. The autogenous and drying shrinkages of fly ash mortar were less than those of OPC mortar. The autogenous and drying shrinkages of wet fly ash mortar were not different from those of dry fly ash mortar. However, the autogenous shrinkage of wet fly ash mortar at the moisture contact of 1 week was less than that of dry fly ash mortar. The wet fly ash with different moisture content and different moisture contact showed no effect on the autogenous and drying shrinkages of fly ash mortar. Furthermore, the carbonation depth of fly ash concrete was greater than that of OPC concrete. The carbonation depth of wet fly ash concrete was less than that of dry fly ash concrete. Moreover, the different moisture content and different moisture contact of wet fly ash had no effect on carbonation depth of concrete. Finally, the chloride penetration resistance of fly ash concrete was better than that of OPC concrete. The chloride penetration resistance of wet fly ash concrete at the moisture contact of 1 week was less than that of dry fly ash concrete, while that at the moisture contact of 1 month was not different. Besides, the wet fly ash with high moisture content resulted in lower chloride penetration resistance of concrete.en
dc.language.isoThaien
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิศวกรรมโยธาen
dc.subjectคอนกรีตen
dc.subjectความทนทานen
dc.subjectเพสต์ มอร์ต้าร์en
dc.subjectเถ้าลอยเปียกen
dc.subjectความคงทนของคอนกรีตen
dc.subjectConcreteen
dc.subjectToleranceen
dc.subjectpasteen
dc.subjectwet fly ashen
dc.subjectdurability of concreteen
dc.titleสมบัติด้านความคงทนของคอนกรีตผสมเถ้าลอยเปียกen
dc.title.alternativeThe durability properties of concrete mixed with wet fly ashen
dc.typeThesisen
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-167582.pdfThe durability properties of concrete mixed with wet fly ash10.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.