Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3759
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | เอกพล ทับพร | - |
dc.date.accessioned | 2020-12-29T08:11:28Z | - |
dc.date.available | 2020-12-29T08:11:28Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3759 | - |
dc.description | การลดของเสียในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์โดยการประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลอง : กรณีศึกษาบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ | en |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อลดปริมาณของเสียในกระบวนการผลิตตุ้มน้ำหนักปลายแฮนด์ให้ต่ำลง 50 เปอร์เซ็นต์ โดยการประยุกต์ใช้เครื่องมือทางด้านวิศวกรรมอุตสาหการและการออกแบบการทดลองเชิงแฟคทอเรียลแบบสามระดับ การดำเนินการเริ่มจากการใช้เครื่องมือคุณภาพ ได้แก่ ใบตรวจสอบมาช่วยเก็บรวบรวมข้อมูลของเสีย จากนั้นใช้แผนภาพสาเหตุและผล แผนภูมิพาเรโตมาช่วยในการวิเคราะห์และคัดเลือกปัญหา พบว่าปัญหาหลักเกิดจากความไม่เหมาะสมของค่าพารามิเตอร์ที่ใช้ในการกลึงปอกวัสดุ จากนั้นนำปัญหาไประดมสมองเพื่อวิเคราะห์การกำหนดปัจจัยและระดับของปัจจัยที่ใช้ในการทดสอบด้วยหลักการการออกแบบการทดลองเชิงแฟคทอเรียลแบบสามระดับ (3 (Superscript k ) Factorial Design) โดยมีปัจจัยที่ใช้ศึกษา 3 ปัจจัย แต่ละปัจจัยมี 3 ระดับ ได้แก่ ความเร็วรอบ อัตราป้อนและความลึกตัดโดยกำหนดความเร็วรอบเท่ากับ 3,500, 3,800 และ 4,000 รอบ/นาที อัตราป้อนเท่ากับ 0.1, 0.2 และ 0.33 มิลลิเมตร/รอบ และความลึกในการตัดเท่ากับ 1.0, 1.25 และ 1.5 มม. ผลการวิจัยพบว่าถ้าต้องการค่าความหยาบผิวของชิ้นงานดีที่สุดควรกำหนดค่าพารามิเตอร์ของความเร็วรอบเท่ากับ 3,500 รอบ/นาที อัตราป้อนเท่ากับ 0.20 มิลลิเมตร/รอบ และความลึกในการตัดเท่ากับ 1.00 มม.และจากการดำเนินการนำผลวิจัยไปปรับใช้สามารถลดมูลค่าของเสียเฉลี่ยได้จาก 73,440 บาท/เดือน เหลือ 28,450 บาท/เดือน ลดลง 44,990 บาท/เดือน คิดเป็นร้อยละ 61.14 | en |
dc.description.abstract | The major purpose of this research was to reduce the imperfection of the procedure caused by factors that influenced workpieces with rough surfaces of the motorcycle handlebar weights in metal turning process of SS400 Low Carbon Steel. The research instruments used to identify and select the problems in order to further the experiment were seven quality tools such as Cause-and-effect diagram and Pareto diagram. These quality tools found that the main problems were caused by the improper of the parameters used in turning material procedure. The study then decided to apply an experimental design techniques including factorial and the 3k factorial design, which ultimately considered three factors in each level; speeds of spindle, feed of rate and depth of cut. In addition, the experiment required speeds of spindle at 3,500, 3,800 and 4,000 rev / min, feed of rate at 0.1, 0.2 and 0.33 mm / rev. and depth of cut at 1.0, 1.25 and 1.5 mm. The study findings reveal that the desired average surface roughness of the workpiece should set the parameters of the speeds of spindle at 3,500 rev / min, feed of rate at 0.2 mm / rev and depth of cut at 1.00 mm. The procedure can reduce the value of the waste (61.14%) from 73,440 baht / month to 28,450 Baht / month. | en |
dc.language.iso | other | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการ. | en |
dc.subject | การลดของเสีย | en |
dc.subject | การออกแบบการทดลอง | en |
dc.subject | ชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ | en |
dc.subject | waste reduction | en |
dc.subject | design of experiment | en |
dc.subject | motorcycle parts | en |
dc.title | การลดของเสียในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์โดยการประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลอง : กรณีศึกษาบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ | en |
dc.title.alternative | The defects reduction in the motorcycle spare parts production by appying the design of experiment : A case study of motorcycle parts manufacturing industry company | en |
dc.type | Thesis | en |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT_158621.pdf | การลดของเสียในกระบวนการผลิตชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์โดยการประยุกต์ใช้การออกแบบการทดลอง : กรณีศึกษาบริษัทผลิตชิ้นส่วนรถจักรยานยนต์ | 10.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.