Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3982
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ปุณยาพร ศรีจุลัย | - |
dc.date.accessioned | 2022-07-06T05:44:07Z | - |
dc.date.available | 2022-07-06T05:44:07Z | - |
dc.date.issued | 2564 | - |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/3982 | - |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล การยอมรับการใช้เทคโนโลยีและคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้าในจังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัย คือ ลูกค้าที่เคยใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า จำนวน 400 คน ใน จังหวัดปทุมธานี ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตาโดยเก็บตัวอย่างจากทุกอำเภอ ๆ ละเท่า ๆ กัน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าทีแบบ Independent การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสมการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21 - 30 ปี อาชีพนักเรียน/ นิสิต/ นักศึกษา การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีรายได้ 10,001 - 20,000 บาทต่อเดือน และพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้าแตกต่างกัน ได้แก่ เพศ และอำเภอที่อยู่อาศัย ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ อาชีพ ระดับการศึกษาและรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน ไม่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า การยอมรับการใช้เทคโนโลยีด้านการรับรู้ถึงประโยชน์และด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งานมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า และคุณภาพการบริการ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 | en |
dc.description.abstract | The objectives of this independent study were to investigate how technology acceptance and services quality affected consumers’ decision to use the Foodpanda delivery service in Pathum Thani province. The sample group used in this study comprised 400 consumers who had decided to use the Foodpanda delivery service in Pathum Thani province. They were recruited using the quota sampling method and represented all districts equally. The instrument used to collect data was a questionnaire. The data analysis employed descriptive statistics including frequency, percentage, mean and standard deviation, and inferential statistics including independent sample t-test, one-way ANOVA and multiple regression analysis at a statistically significant level of .05. The findings indicated that most of the respondents were female, aged between 31 to 40 years old. They were either students, or students with a bachelor's degree, or equivalent, with a monthly income of 10,001 to 20,000 Baht. Differences in the personal factors of gender and location influenced the decision to use Foodpanda whereas differences in age, occupation, education level, and monthly income demonstrated no effect on the decision to use Foodpanda. Furthermore, it was found that technology acceptance in terms of perceived usefulness and perceived ease of use affected the decision to use Foodpanda.Similarly, the dimensions of service quality including assurance, responsiveness and tangibles affected the decision to use Foodpanda at a statistically significant level of .05. | en |
dc.language.iso | Thai | en |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาเอกการจัดการโลจิสติกส์ | en |
dc.subject | การยอมรับการใช้เทคโนโลยี, | en |
dc.subject | คุณภาพการบริการ, | en |
dc.subject | การตัดสินใจใช้บริการ, | en |
dc.subject | technology acceptance, | en |
dc.subject | service quality, | en |
dc.subject | decision to use the service | en |
dc.title | การยอมรับการใช้เทคโนโลยีและคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า ในจังหวัดปทุมธานี | en |
dc.title.alternative | Technology Acceptance and Service Quality Factors Affecting Consumers’ Decision to Use the Foodpanda Delivery Service in Pathum Thani Province | en |
dc.type | Independent Study | en |
Appears in Collections: | การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RMUTT-170583.pdf | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล การยอมรับการใช้เทคโนโลยีและคุณภาพการบริการที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้าในจังหวัดปทุมธานี กลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัย คือ ลูกค้าที่เคยใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า จำนวน 400 คน ใน จังหวัดปทุมธานี ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบโควตาโดยเก็บตัวอย่างจากทุกอำเภอ ๆ ละเท่า ๆ กัน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วยสถิติพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมติฐานด้วยสถิติอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าทีแบบ Independent การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสมการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 21 - 30 ปี อาชีพนักเรียน/ นิสิต/ นักศึกษา การศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่า มีรายได้ 10,001 - 20,000 บาทต่อเดือน และพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้าแตกต่างกัน ได้แก่ เพศ และอำเภอที่อยู่อาศัย ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุ อาชีพ ระดับการศึกษาและรายได้ต่อเดือนที่แตกต่างกัน ไม่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า การยอมรับการใช้เทคโนโลยีด้านการรับรู้ถึงประโยชน์และด้านการรับรู้ความง่ายในการใช้งานมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า และคุณภาพการบริการ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการมีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการขนส่งอาหารฟู้ดแพนด้า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 | 2.31 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.