Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4419
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวารินทร์ เงินลาด-
dc.date.accessioned2024-08-19T08:11:22Z-
dc.date.available2024-08-19T08:11:22Z-
dc.date.issued2566-
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4419-
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องการสร้างสรรค์สื่อสมัยใหม่ทางพุทธศาสนาในรูปแบบปริศนาธรรม มีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์ ตีความ สร้างองค์ความรู้ และสร้างสรรค์ผลงานการออกแบบภาพประกอบชุดสื่อสมัยใหม่ทาง พุทธศาสนาในรูปแบบปริศนาธรรม โดยใช้หลักการจัดองค์ประกอบศิลป์ ทฤษฎีการรับรู้ทางทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และสุนทรียะ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ นักวิชาการการสร้างสรรค์ภาพประกอบ และบุคคลทั่วไปในเขต กรุงเทพมหานคร และปริมณฑลที่เข้ามาเยี่ยมชมวัดปัญญานันทรารามโดยการสุ่มกลุ่มตัวอย่างจำนวน 180 คน พบว่าส่วนใหญ่มีช่วงอายุ 20-50 ปี เป็นผู้หญิงมากกว่าผู้ชาย ผลการวิจัยพบว่า 1) เป็นการนำเสนอรูปแบบให้ประจักษ์ทางสายตาแก่ชาวพุทธ โดยใช้ความคิด สร้างสรรค์ทางศิลปะมาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ได้ถ่องแท้เกิดองค์ความรู้ที่สามารถอธิบายได้อย่างมีเหตุมี ผล ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการทดลองผสมผสานจินตภาพสมมติจากปริศนาธรรม 2) การออกแบบภาพประกอบ ทำให้ผู้พบเห็นเข้าใจเนื้อหา สาระ คำสั่งสอนของพระพุทธองค์ได้ลึกซึ้งดียิ่งขึ้น 3) การประเมินความการรับรู้ และเข้าใจของผู้คนในภาพประกอบชุดสื่อสมัยใหม่ทางพุทธศาสนาในรูปแบบปริศนาธรรมทำให้เกิดการรับรู้ และเข้าใจของผู้คนในรูปแบบแสดงผลงานศิลปะ ส่งเสริมสร้างจินตนาการ ประสบการณ์ ในหลักคำสอนของ พระพุทธเจ้าได้กว้างขวางยิ่งขึ้น มีการแนะนำ และบอกต่อผู้อื่นให้มาชมผลงานภายในวัดปัญญานันทาราม จังหวัดปทุมธานี มากยิ่งขึ้น เป็นอีกหนทางหนึ่งช่วยให้สังคมไทยเกิด ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นหนทางไปสู่ผล บุญ และความสุขen
dc.description.abstractResearch on the creation of modern Buddhist media in the form of dharma puzzles aimed to analyze, interpret, and create a body of knowledge, and create illustration for modern Buddhist media in the form of Dharma puzzles using the principles of art composition, the theory of visual perception, history, and aesthetics. The samples included creative illustrators and general people in Bangkok and its vicinity who visited Panyananthararam temple. The 180 people were randomly selected. It was found that most of them were 20- 50 years old. There were more female than male. The research findings were as follows: 1) it was presented to the Buddhists by using artistic creativity to thoroughly analyze and synthesize knowledge that can be explained rationally. 2) The illustration made the viewers understand the content, essence, and teachings of the Lord Buddha more deeply. 3) The evaluation of people's perception and understanding in the modern media illustration of Buddhism in the form of puzzles causes awareness and understanding of people in the form of art exhibitions and promotes imagination and experience in the teachings of the Buddha more widely. There is a recommendation telling others to come and see the works in Panyanantaram temple, Pathum Thani province. It is another way to help Thai society to develop precepts, concentration, and wisdom, which is a way to merit and happiness.en
dc.language.isoThaien
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะศิลปกรรมศาสตร์. สาขาวิชาทัศนศิลป์และการออกแบบ.en
dc.subjectการสร้างสรรค์en
dc.subjectสื่อสมัยใหม่en
dc.subjectปริศนาธรรมen
dc.titleการสร้างสรรค์สื่อสมัยใหม่ทางพุทธศาสนาในรูปแบบปริศนาธรรมen
dc.title.alternativeCreation of Modern Buddhist Media with the Form of Dharma Puzzlesen
dc.typeThesisen
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - FA)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-176242.pdfCreation of Modern Buddhist Media with the Form of Dharma Puzzles9.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.