Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/528
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | รัฐทาน นามศิริ | |
dc.date.accessioned | 2012-04-05T02:32:33Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:37:32Z | - |
dc.date.available | 2012-04-05T02:32:33Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:37:32Z | - |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/528 | - |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้นำเสนอวิธีการวิเคราะห์หาตำแหน่งติดตั้งหน่วยวัดมุมเฟสที่เหมาะสมและ สามารถ ลดจำนวนของเครื่องมือวัดลงให้ได้น้อยที่สุด แต่ประสิทธิภาพในการวัดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ยังสามารถครอบคลุมการวัดทุกตำแหน่งได้ ซึ่งวิธีการที่ใช้ทำวิทยานิพนธ์นี้เป็นวิธีประมาณสถานะ ซึ่งการจัดเก็บและบันทึกค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ในระบบไฟฟ้ากำลังเป็นไปตามเวลาจริง เมื่อนำผลที่ได้ไปประมวลค่าต่างๆ จึงมีความถูกต้อง ซึ่งในระบบของ SCADA ต้องมีการติดตั้งเครื่องมือวัดมากทำให้สิ้นเปลื้องงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องมือวัดเพื่อมาติดตั้งในระบบไฟฟ้ากำลังดังนั้นจึงได้นำเอาวิธีการประมาณสถานะของระบบไฟฟ้ากำลัง โดยใช้วิธีการของเจนเนติกอัลกอริทึม มาดำเนินการสุ่มเลือกบัสที่เหมาะสมและดีที่สุด เพื่อนำมาวิเคราะห์หาตำแหน่งจุดติดตั้งเครื่องมือวัดที่เหมาะสมและดีที่สุด ซึ่งสามารถเลือกตำแหน่งติดตั้งเครื่องมือวัดได้จำนวน 7 ตำแหน่ง จากการติดตั้งเครื่องในระบบไฟฟ้ากำลัง 14 บัส และทำการเปรียบเทียบผลจากการไหลของกำลังไฟฟ้าซึ่งจากวิธีการประมาณสถานะจากเจนเนติกอัลกอริทึม ในการสุ่มเลือกบัสที่เหมาะสมสำหรับการติดตั้งเครื่องมือวัด PMU ซึ่งได้ค่า Fitness ที่เหมาะสมและดีที่สุดจากเจนเนติกอัลกอริทึมคือ 5.8329ในการเลือกบัสที่ใช้ติดตั้งเครื่องมือวัด PMU ได้ จำนวน 7 ตำแหน่ง จาก 14 ตำแหน่ง ดังนั้นสามารถลดจำนวนของเครื่องมือวัด PMU ลงได้จำนวน 7 ตำแหน่ง และข้อมูลที่ได้จากการวัดในระบบไฟฟ้ากำลังเมื่อทำการติดตั้งเครื่องมือวัดจำนวน 7 ตำแหน่ง สามารถที่จะวัดค่าพารามิเตอร์ต่างๆ ในระบบไฟฟ้ากำลังถึงกันหมด แทนที่จะติดตั้งเครื่องมือวัดทุกๆ บัส และค่าที่วัดได้มีความถูกต้องและมีความน่าเชื่อถือมาก ยิ่งขึ้นและทำให้ลดงบประมาณในการจัดซื้อเครื่องมือวัดลงได้มาก | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมไฟฟ้า | en_US |
dc.subject | การประมาณสถานะ | en_US |
dc.subject | หน่วยวัดมุมเฟส | en_US |
dc.subject | เจนเนติกอัลกอริทึม | en_US |
dc.title | การวางตำแหน่งของหน่วยวัดมุมเฟสที่เหมาะสมโดยใช้วิธีการประมาณสถานะ | en_US |
dc.title.alternative | OPTIMAL PLACEMENT OF PHASOR MEASUREMENT UNIT BY USING STATE ESTIMATION METHOD | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2Front.pdf | การวางตำแหน่งของหน่วยวัดมุมเฟสที่เหมาะสมโดยใช้วิธีการประมาณสถานะ | 595.8 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.