Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/540
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชาย เสนาหาญ | |
dc.date.accessioned | 2012-04-10T03:45:59Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T06:38:40Z | - |
dc.date.available | 2012-04-10T03:45:59Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T06:38:40Z | - |
dc.date.issued | 2552 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/540 | - |
dc.description.abstract | งานวิจัยนี้แสดงให้เห็นถึงการประยุกต์ใช้เทคนิค ซิกซ์ ซิกมา ในการแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในกระบวนการผลิต ณ โรงงานตัวอย่าง กระบวนการประกอบสปินเดิลมอเตอร์ (Spindle Motor Base Assembly) ซึ่งเป็นผู้ผลิตสปินเดิลมอเตอร์ ที่ใช้ในการขับฮาร์ดดิสก์ไดฟ์ ส่งให้กับลูกค้า วัตถุประสงค์ของการวิจัยคือการลดจำนวนของเสียจากการเสียดสีที่ก่อให้เกิดการสั่นสะเทือน ในกระบวนการประกอบสปินเดิลมอเตอร์และเพิ่มความสามารถของกระบวนการ (Process Capability) โดยการปรับปรุงคุณภาพในหนึ่งล้านชิ้นของผลผลิต (Defect Parts Per Million: DPPM) และสามารถนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการอธิบายกระบวนการและนำสารสนเทศจากข้อมูลมาใช้เพื่อการตัดสินใจให้เกิดประโยชน์และมีประสิทธิภาพสูงสุด สำหรับปัญหาที่พบ คือ ในกระบวนการประกอบสปินเดิลมอเตอร์ เมื่อทำการทดสอบพบว่าเกิดการเสียดสีซึ่งก่อให้เกิดการสั่นสะเทือน ขณะสปินเดิลมอเตอร์หมุน โดยการทดสอบวัดค่า G-Value กำหนดค่ามาตรฐานไม่เกิน 40 mG.Max มีการทดสอบ 100 เปอร์เซ็นต์ พบว่าค่าเกินมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งส่งผลให้เกิดของเสียทิ้ง (Scrap) ขั้นตอนการศึกษาทั้งหมดแบ่ง เป็น 5 ขั้นตอน ได้แก่ การกำหนดปัญหา การวัดผล การวิเคราะห์ การปรับปรุงและการควบคุม โดยจะทำการศึกษาเฉพาะโมเดลมูซโฟธดี (Moose4D Model) ชนิดรุ่น FDB (Fluid Dynamic Bearing Spindle Motor: FDB) จากข้อมูลที่กระบวนการผลิตของเสียและความสามารถของกระบวนการผลิตจากตัวชี้วัด Cpk ก่อนการปรับปรุงโดยเฉลี่ย 23,760.36 DPPM และ Cpk 0.82 และหลังการปรับปรุงโดยเฉลี่ย 246.81 DPPM และ Cpk 3.06 จากผลข้อมูลนั้นสามารถลดจำนวนของเสียลงได้อย่างที่ตั้งเป้าหมายไว้ | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.subject | ซิกซ์ ซิกมา | en_US |
dc.subject | ลดของเสีย | en_US |
dc.subject | การเสียดสีเกิดการสั่นสะเทือนในการประกอบสปินเดิลมอเตอร์ | en_US |
dc.title | การประยุกต์ใช้เทคนิค ซิกซ์ ซิกมา เพื่อลดของเสียจากการเสียดสีเกิดความสั่นสะเทือนในกระบวนการประกอบสปินเดิลมอเตอร์กรณีศึกษา : โรงงานตัวอย่าง กระบวนการประกอบสปินเดิลมอเตอร์ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.title.alternative | AN APPLICATION OF SIX SIGMA TECHNIQUE FOR DEFECT REDUCTION OF RUBBING VIBRATION IN A SPINDLE MOTOR BASE ASSEMBLY: A CASE STUDY | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
2Abstract.pdf | การประยุกต์ใช้เทคนิค ซิกซ์ ซิกมา เพื่อลดของเสียจากการเสียดสีเกิดความสั่นสะเทือนในกระบวนการประกอบสปินเดิลมอเตอร์กรณีศึกษา : โรงงานตัวอย่าง กระบวนการประกอบสปินเดิลมอเตอร์ของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ | 541.11 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.