Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/612
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorเกียรติชัย ดวงศรี
dc.date.accessioned2012-10-09T04:17:43Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:41:55Z-
dc.date.available2012-10-09T04:17:43Z
dc.date.available2020-09-24T06:41:55Z-
dc.date.issued2553
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/612-
dc.description.abstractการใช้สารสกัดโปรตีนจากรังไหมเสียรังสีขาวและรังสีเหลือง โดยการใช้สารสกัดธรรมชาติจากด่างของขี้เถ้าแกลบและด่างของขี้เถ้าผักโขมหนาม ใช้น้ำกรองและน้ำกลั่นในการศึกษาเปรียบเทียบ การหาระยะเวลาการสกัดที่เหมาะสม เพื่อศึกษาความสามารถในการสกัดโปรตีนเซริซินให้ได้เปอร์เซ็นต์โปรตีนสูงสุด แล้วเปรียบเทียบปริมาณโปรตีนระหว่างรังไหมเสียสีขาวและรังไหมเสียสีเหลืองทดลองโดยการนำรังไหมเสียสีขาวและรังไหมเสียสีเหลือง ตัวอย่างละ 10 รังมาต้มสกัดกับน้ำด่างขี้เถ้าแกลบและน้ำด่างขี้เถ้าผักโขมหนาม 100 มิลลิลิตร อุณหภูมิคงที่ 95 องศาเซลเซียส ศึกษาเปรียบเทียบที่ระยะเวลา 30, 60 และ 90 นาที ใช้น้ำกรองและน้ำกลั่นเปรียบเทียบกับการ ใช้น้ำด่าง จากขี้เถ้า จากนั้นนำไปทดสอบหาปริมาณโปรตีนโดยใช้วิธี Kjeldahl System ผลการทดลองพบว่าสารที่ใช้ต้มสกัดรังไหมเสียสีเหลืองจากขี้เถ้าแกลบมีเปอร์เซ็นต์โปรตีนที่สกัดได้สูงสุดที่ 1.41 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นสารสกัดจากผักโขมหนามมีเปอร์เซ็นต์โปรตีน 1.26 เปอร์เซ็นต์ โดยสารสกัดจากน้ำกรองและน้ำกลั่นมีเปอร์เซ็นต์ต่ำสุด 1.01 และ 0.85 ตามลำดับ สารที่ใช้ต้มสกัดรังไหมเสียสีขาว พบว่าสารสกัดจากขี้เถ้าผักโขมหนามมีเปอร์เซ็นต์โปรตีนที่สกัดได้สูงสุด 1.21 เปอร์เซ็นต์ รองลงมาเป็นสารสกัดจากขี้เถ้าแกลบมีเปอร์เซ็นต์โปรตีน 1.15 เปอร์เซ็นต์ โดยสารสกัดจากน้ำกรอง และน้ำกลั่นมีเปอร์เซ็นต์ต่ำสุด 0.97 และ 0.95 เปอร์เซ็นต์ตามลำดับ ผลการศึกษาหาระยะเวลาที่ใช้ในการต้มสกัดโปรตีนเซริซินจากรังไหมเสีย พบว่าระยะเวลาที่ 90 นาทีทั้งรังไหมสีขาวและรังไหมสีเหลือง มีเปอร์เซ็นต์โปรตีนที่สกัดได้สูงสุดในทุกตัวอย่างทดลอง รองลงมาคือระยะเวลาที่ 60 นาทีและ 30 นาทีตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบปริมาณโปรตีนเซริซินระหว่างรังไหมสีขาวและรังไหมสีเหลืองพบว่าปริมาณโปรตีนเฉลี่ยที่ได้ มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในระดับ 0.05en_US
dc.description.abstractThis research was to study about the extraction Sericin protein from white and yellow silk cocoon wastes using the natural substance from the alkaline of husk ashes and the alkaline of thorn spinach ashes. The filtered water and the distilled water were used for the comparative study to find out the suitable period of time for extraction Sericin protein to get the highest protein percent. Then there was to study the quantity of Sericin protein between white and yellow silk nest. Each 10 of them were boiled with the 100 milliliter of alkaline of husk ashes and the alkaline of thorn spinach ashes with the stable temperature at 95 degree Celsius to extract Sericin protein from them. Later there was to study the comparative differences about the period of time for extraction in the duration of 30, 60 and 90 minutes using the filtered water and the distilled water to compare their results. Finally, the alkali water from ashes was taken to test the quantity of protein using Kjeldahl System. The result was shown that the substance used for extraction the yellow silk nest from the husk ashes was the highest protein percent at 1.41 %, the alkaline of thorn spinach ashes was at 1.26 % and the filtered water and the distilled water was the lowest at 1.01 and 0.85 respectively. The substance used for extraction the while silk nest was shown that the alkaline of thorn spinach ashes was the highest protein percent at 1.21 %, the husk ashes was 1.15 % and the filtered water and the distilled water was the lowest at 0.97 and 0.95 respectively. The result of duration about the suitable period of times for extraction Sericin protein was found that the white and yellow silk nest were the highest protein all examples in the duration of 90, 60 and 30 minutes respectively. The result of comparative study about Serisin protein quantity between white and yellow silk nest shown that there was statistical difference at the level of 0.05.en_US
dc.language.isoThen_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิศวกรรมสิ่งทอen_US
dc.subjectรังไหมen_US
dc.subjectสารสกัดen_US
dc.subjectโปรตีนเซริซินen_US
dc.subjectขี้เถ้าen_US
dc.titleการใช้สารสกัดโปรตีนเซริซินจากรังไหมเสียen_US
dc.title.alternativeUse of sericin protein extract from silk cocoon wasteen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Use of sericin protein extract from silk cocoon waste.pdfการใช้สารสกัดโปรตีนเซริซินจากรังไหมเสีย4.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.