Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/700
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorหลักศิลา, คงทรัพย์
dc.date.accessioned2013-02-15T07:50:09Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:19:34Z-
dc.date.available2013-02-15T07:50:09Z
dc.date.available2020-09-24T04:19:34Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/700-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา การยอมรับระบบอินทราเน็ต กรณีศึกษาสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานของสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนที่ใช้งานระบบอินทราเน็ต จำนวน 99 คน วิธีการเก็บข้อมูลใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสถิติไค-สแควร์ (Chi-Square) และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิตินี้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ส่วนใหญ่อายุ 31-40 ปี ส่วนใหญ่สถานภาพโสด ส่วนใหญ่มีวุฒิการศึกษาระดับการศึกษาปริญญาตรี ส่วนใหญ่ระดับหน้าที่ความรับผิดชอบเป็นระดับปฏิบัติการ ส่วนใหญ่ความเกี่ยวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์เป็นการปฏิบัติงานโดยใช้คอมพิวเตอร์ ความคิดเห็นต่อลักษณะนวัตกรรมโดยรวมอยู่ในระดับดี ผลการวิเคราะห์ทดสอบสมมติฐานโดยใช้ค่าสถิติไค-สแควร์ พบว่า ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการใช้งานระบบอินทราเน็ต ยกเว้นด้านอายุที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในเรื่องของความถี่ในการใช้งานระบบอินทราเน็ต ผลการวิเคราะห์ ทดสอบมติฐานโดยใช้สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของสเปียร์แมน พบว่า ลักษณะนวัตกรรมมีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมในการใช้งานระบบอินทราเน็ตทั้งในเรื่องของความถี่ และระยะเวลาในการใช้งานระบบอินทราเน็ตen_US
dc.description.abstractThe Independent Study objective was to study the Intranet Adoption in Population and Community Development Association. The sample size was 99 employees of population and community development association. The data were analyzed by using statistics were: Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, Chi-Square Test, and Spearman Rank Correlation Coefficients. The data analysis was conducted by using statistical software package. The results found that most of the respondents were females, aged 31-40 years old, were single status, hold a bachelor’s degree. Their responsibility was an operational level. Most of them used computer to operate their jobs. The overall opinion of innovation characteristics were good level. The Chi-square Test was use to test the hypothesis. The result found that age was related with the behavior of the intranet. The results of hypothesis testing using Spearman rank correlation coefficients test was found that correlated with the innovation characteristics in the use of an intranet system in terms of frequency.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาเอกระบบสารสนเทศen_US
dc.subjectอินทราเน็ต (เครือข่ายคอมพิวเตอร์)en_US
dc.titleการยอมรับระบบอิทราเน็ต : กรณีศึกษาสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนen_US
dc.title.alternativeThe Intranet Adoption : A Case Study of Population and Community Development Association (PDA)en_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124288.pdfThe Intranet Adoption : A Case Study of Population and Community Development Association (PDA)4.25 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.