Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/847
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorชลลดา บุญโท
dc.date.accessioned2013-05-10T03:39:26Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:27:25Z-
dc.date.available2013-05-10T03:39:26Z
dc.date.available2020-09-24T04:27:25Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/847-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและผลกระทบจากเกมออนไลน์ โดยศึกษากลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 405 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สำหรับสถิติที่ใช้เป็นเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าคะแนนเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที่ใช้ทดสอบสมมติฐานได้แก่ Independent Samples t-test และ One-Way ANOVA ผลการศึกษาสรุปได้ว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็ นเพศหญิง อายุ 19 - 20 ปี ศึกษาอยู่ในระดับชั้นการศึกษาปีที่ 3 มีจำนวนครั้งในการเล่นเกมออนไลน์ 4 - 6 ครั้งต่อสัปดาห์ ใช้เวลาในการเล่นเกมออนไลน์ 2 - 3 ชั่วโมงต่อครั้ง และมักจะเล่นเกมออนไลน์ในเวลา 16.01 - 20.00 น. สำหรับผลกระทบจากเกมออนไลน์ พบว่าด้านสุขภาพร่างกาย เกมออนไลน์ทำให้ผู้เล่นมีปัญหาเกี่ยวกับระบบสายตา ด้านการเงิน เกมออนไลน์ทำให้ผู้เล่นมีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้น ด้านการศึกษาและสติปัญญา เกมออนไลน์ทำให้ผู้เล่นเกิดความคิดสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น ด้านความสัมพันธ์ในครอบครัว และกลุ่มเพื่อนเกมออนไลน์ทำให้ผู้เล่นรู้จักกับเพื่อนใหม่ๆเพิ่มขึ้น ด้านอารมณ์ เกมออนไลน์ทำให้ผู้เล่นมีความรู้สึกผ่อนคลายจากความตึงเครียด ผลการทดสอบสมมุติฐาน คือ พฤติกรรมการเล่นเกมส์ออนไลน์ในด้านเวลาที่ใช้งานความถี่ของการใช้งาน และช่วงเวลาในการใช้งานมีความแตกต่างกันเกิดผลกระทบจากการเล่นเกมออนไลน์แตกต่างกันยกเว้นด้านความถี่ของเวลาที่ไม่มีความแตกต่างen_US
dc.description.abstractThe objective of independent study include that studies the behavior and influence of playing online games of Rajamangala University of Technology Thanyaburi Undergraduate students. The samples used in study consisted of 405 people by the questionnaire. Statistical analysis used Percentage, Average, Standard Deviation, an Independent Samples t-test and One- Way ANOVA. The results concluded that most of people were female, 19-20 years old of age, studies in 3rd years, played online games 4 to 6 times per week, and took time to play online games 2 to 3 hours per time, often played online game at 04:01 to 08:00 P.M. The affectation of online games in relation to the players had problems with visual system in body health, expenses increased of finances, increased creative thinking of education and intelligence, known new friends increased in relationships of family and friends, Relaxing of the tension in mood. The results of hypothesis testing found a significant different in time active, frequency and period of use whereas frequency of time was not significantly different on the behavior and influence of playing online games.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาระบบสารสนเทศen_US
dc.subjectเกมคอมพิวเตอร์ -- นักศึกษาen_US
dc.subjectเกมคอมพิวเตอร์en_US
dc.subjectเกมอินเตอร์เน็ตen_US
dc.titleพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและผลกระทบจากเกมออนไลน์en_US
dc.title.alternativeThe Behavior and Influence of Playing Online Games of Rajamangala University of Technology Thanyaburi Undergraduate Studentsen_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
124381.pdfพฤติกรรมการเล่นเกมออนไลน์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีและผลกระทบจากเกมออนไลน์5.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.