Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/996
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorวุฒิชัย สังขรัตน์
dc.date.accessioned2014-01-06T02:07:16Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:16:40Z-
dc.date.available2014-01-06T02:07:16Z
dc.date.available2020-09-24T04:16:40Z-
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/996-
dc.description.abstractการค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังของพนักงานที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมองค์กร ประชากรที่ใช้ในการค้นคว้าอิสระครั้งนี้ คือพนักงาน บริษัท ท่อส่งปิโตรเลียมไทย จำกัด จำนวนทั้งหมด 110 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน (Independent Samples t-test) และทดสอบความแตกต่างมากกว่า 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน (One-way ANOVA) การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยพหุคูณเชิงเส้น (Multiple Linear Regression) ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ผู้ที่ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุ 41-50 ปี มีสถานภาพสมรส การศึกษาอยู่ในระดับปริญญาตรี มีอายุการทางาน 10 ปีขึ้นไป ตำแหน่งพนักงานระดับปฏิบัติการ/สานักงาน ให้ความเห็นด้านความคาดหวังอยู่ในระดับปานกลาง และด้านวัฒนธรรมองค์กรอยู่ในระดับมาก ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงานที่แตกต่างกันมีความเห็นด้านความคาดหวังและด้านวัฒนธรรมองค์กรไม่แตกต่างกัน ส่วนอายุการทางานที่แตกต่างกันมีความเห็นด้านความคาดหวังและด้านวัฒนธรรมองค์กรแตกต่างกัน ผลการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยวิธีถดถอยพหุคูณเชิงเส้น พบว่า ปัจจัยด้านความคาดหวัง ด้านเครื่องมือที่จะนาไปสู่ผลลัพธ์ และด้านการเห็นคุณค่าของผลลัพธ์ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับวัฒนธรรมองค์กรในภาพรวม และสามารถนามาสร้างเป็นสมการพยากรณ์... The purpose of the independent study was carried out to examine the employees’ expectations that influenced on the organizational culture. The data were gathered from 110 employees of Thai Petroleum Pipeline Company Limited. The statistics applied for the data analysis consisted of Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation, Independent Samples t-test, One-way ANOVA, and Multiple Linear Regression at 0.05 level of significance. The results of the study showed that the majority of the respondents were male between 41-50 years old, married, obtained Bachelor’s degree, had more than 10 years of work experience, and worked as operators/officers. The respondents expressed the opinions toward the aspects of expectations at a moderate level, and toward the aspects of organizational culture at a high level. The results of hypothesis testing demonstrated that different gender, age, marital status, level of education, and job position of the respondents made no differences in the expectations on the organizational culture, however, different work experience caused differences in the expectations and in the organizational culture. The Multiple Linear Regression analysis demonstrated that the factors on expectations had a positive relationship with the overall aspects of organizational culture, and the regression equation could...en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจen_US
dc.subjectวัฒนธรรมองค์กรen_US
dc.subjectองค์กร -- พฤติกรรมen_US
dc.titleความคาดหวังของพนักงานที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมองค์กรen_US
dc.title.alternativeEmployees’ expectations Influencing on Organizational Cultureen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127091.pdfความคาดหวังของพนักงานที่มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมองค์กร5.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.