Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/950
Title: อิทธิพลของการขึ้นรูปแผ่นโลหะทองเหลืองด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง โดยการสัมผัสเป็นจุดโดยการทำงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมเชิงตัวเลข
Other Titles: Influence of forming brass plate with a single point incremental forming process by computer numerical control system
Authors: ธงชัย เพ็งจันทร์ดี
Keywords: กระบวนการขึ้นรูปแบบต่อเนื่องแบบสัมผัสเป็นจุด
อัตราความเครียด
ความหยาบผิวเฉลี่ย
single point incremental forming process
strain rate
roughness average
Issue Date: 2554
Publisher: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ.
Abstract: กรรมวิธีขึ้นรูปโลหะแผ่นในปัจจุบันยังเป็นกระบวนการที่มีความยุ่งยากซับซ้อนในการผลิต ซึ่งในการที่จะผลิตให้ได้ซึ่งการแปรรูปโลหะแผ่นให้มีขนาดรูปร่างให้เป็นไปตามที่ต้องการนั้น จะ ประกอบไปด้วยขั้นตอนในการทำงานในหลายๆส่วน เช่น ขั้นตอนการอออกแบบ ขั้นตอน การผลิต การแม่พิมพ์ที่ใช้ในการขึ้นรูป ซึ่ง แม่พิมพ์ที่ใช้ในการขึ้นรูปโลหะแผ่นนั้นมีความซับซ้อนในการผลิต และมีราคาสูง และในการขึ้นรูปด้วยแม่พิมพ์ขึ้นรูปโลหะแผ่นนั้นต้องใช้เครื่องจักรกำลังในการทำงาน สูงในการขึ้นรูปโลหะแผ่นด้วย อีกทั้งด้วยกรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะด้วยแม่พิมพ์ขึ้นรูปแบบเดิมนั้นมี ความยุ่งยากซับซ้อน จึงมีการนำเสนอแนวคิดใหม่ ในกรรมวิธีการขึ้นรูปโลหะแผ่นโดยไม่มีการใช้ แม่พิมพ์ขึ้นรูป นั่นก็คือ กระบวนการขึ้นรูปแบบต่อเนื่องด้วยการสัมผัสเป็นจุด โดยจะทำการศึกษาถึง ปัจจัยในการทำงานที่มีผลต่อการขึ้นรูปโลหะแผ่นด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบต่อเนื่องด้วยการสัมผัส เป็นจุด เพื่อจะสามารถนำไปเป็นแนวทางและทางเลือกสำหรับอุตสาหกรรมผลิตการขึ้นรูปโลหะแผ่น ด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบต่อเนื่องด้วยการสัมผัสเป็นจุด ต่อไป
Description: วพ TA 403ธ117อ
URI: http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/950
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
118594-Influence of forming brass plate.pdfอิทธิพลของการขึ้นรูปแผ่นโลหะทองเหลืองด้วยกระบวนการขึ้นรูปแบบต่อเนื่อง โดยการสัมผัสเป็นจุดโดยการทำงานด้วยระบบคอมพิวเตอร์ควบคุมเชิงตัวเลข6.68 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.