Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/1240
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorอำนาจ มีแสง
dc.date.accessioned2014-01-28T07:50:21Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:35:44Z-
dc.date.available2014-01-28T07:50:21Z
dc.date.available2020-09-24T06:35:44Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/1240-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อออกแบบเครื่องมือจับยึดชิ้นงานประกอบกับเครื่องมือทางวิศวกรรมอุตสาหการในการลดความสูญเสียจากการทิ้งเศษวัตถุดิบในกระบวนการตัดท่อยางอบแล้ว ณ บริษัทผลิตชิ้นส่วนท่อยางในอุตสาหกรรมยานยนต์ตัวอย่าง ซึ่งมีการทิ้งเศษวัตถุดิบ เป็นมูลค่าสูงเฉลี่ย 221,870 บาทต่อเดือน ผู้วิจัยได้ใช้เทคนิค 6 ชนิด ได้แก่ เครื่องมือกลุ่มควบคุมคุณภาพ (QCC) ความสูญเปล่า 7 ประการ (7 Wastes) เครื่องมือควบคุมคุณภาพ 7 แบบ (7 QC Tools) โดยใช้แผนผังพาเรโตในการคัดเลือกรุ่นของผลิตภัณฑ์ที่จะทำการศึกษา เครื่องมือคุณภาพยุคใหม่ 7 แบบ (7 New QC Tools) โดยใช้แผนผังต้นไม้ในการวิเคราะห์หาแนวทางการแก้ไขปัญหา การลดความสูญเปล่าด้วยหลักการ ECRS และการออกแบบเครื่องมือจับยึดชิ้นงาน (Jig and Fixture Design) ผลการวิจัยพบว่า สามารถสร้างเครื่องมือจับยึดชิ้นงานในการขึ้นรูปท่อยางให้มีขนาดความยาวเท่าที่ต้องการ ทำให้ไม่มีการทิ้งเศษวัตถุดิบอีกต่อไป ซึ่งหมายถึงการลดความสูญเสียในกระบวนการตัดท่อยางสำหรับชิ้นส่วนยานยนต์ลงทั้งหมดร้อยละ 100 คิดเป็นมูลค่าวัตถุดิบเฉลี่ย 221,870 บาทต่อเดือน และมีระยะเวลาคืนทุนของการสร้างเครื่องมือจับยึดชิ้นงาน 1.2 วันen_US
dc.description.abstractThis research aimed to apply industrial engineering techniques to reduce loss from air hose cutting process at an example automotive part factory. The discarded raw material average cost amount of 221,870 Baht per month. The researcher applied industrial engineering techniques comprising of QCC, 7 Wastes, 7 QC Tools with Pareto chart to select the product to be studied, 7 New QC Tools with Tree Diagram to search for a problem solving method, waste reduction by ECRS as well as jig and fixture design. As the result, it is found that the fixture allowed the forming process to the exact required dimension. Therefore, no more discarding the raw materials which accounted for 100% loss reduction or saving 221,870 Baht per month. The payback period is 1.2 production days.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.subjectการควบคุมคุณภาพ -- การวิจัยen_US
dc.titleการออกแบบเครื่องมือจับยึดชิ้นงานเพื่อลดความสูญเสียในกระบวนการตัดท่อยาง กรณีศึกษา โรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์en_US
dc.title.alternativeJig and Fixture Design for Waste Reduction in Air Hose Cutting Process : A Case Study of An Automotive Part Factoryen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
127266.pdfการออกแบบเครื่องมือจับยึดชิ้นงานเพื่อลดความสูญเสียในกระบวนการตัดท่อยาง กรณีศึกษา โรงงานผลิตชิ้นส่วนยานยนต์7.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.