Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorธานี นาคเกิด
dc.date.accessioned2015-07-02T02:50:13Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:36:55Z-
dc.date.available2015-07-02T02:50:13Z
dc.date.available2020-09-24T06:36:55Z-
dc.date.issued2555
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2286-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อพัฒนาระบบการวัดผลการดำเนินงานด้วยหลักการวัดผลเชิงดุลยภาพ (Balanced Scorecard: BSC) กรณีศึกษา โรงงานฉีดพลาสติกขนาดกลาง โดยการจัดทำตัวชี้วัดประสิทธิภาพ (Key Performance Indicator: KPIs) เพื่อวัดผลการปฏิบัติงานในระดับองค์กรและวิเคราะห์หาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) ของแต่ละตัวชี้วัดประสิทธิภาพของทั้งสี่มุมมอง ในการพัฒนาระบบการวัดผลการดำเนินงานแบบ Balanced Scorecard เริ่มจากแต่งตั้งทีมงาน ประเมินองค์กร ทบทวนวิสัยทัศน์ กำหนดมิติในการประเมิน กำหนดหมายรวมขององค์กรจัดทำแผนที่เชิงกลยุทธ์ กำหนดตัวชี้วัดประสิทธิภาพ กำหนดเป้าหมายและนำไปปฏิบัติโดยจะเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานเป็นเวลา 12 เดือน แล้วหาความสัมพันธ์ของตัวชี้วัด โดยการวิเคราะห์สหสัมพันธ์(Correlation Analysis) ผลการประยุกต์ใช้ระบบการวัดผลการดำเนินงานแบบ Balanced Scorecard และติดตามผล 12 เดือนพบว่าองค์กรสามารถบรรลุเป้าหมายตัวชี้วัด 15 ตัว จากตัวชี้วัด 18 ตัว คิดเป็นร้อยละ 83.33 และเมื่อเปรียบเทียบกับระบบการวัดผลการดำเนินงานแบบเดิมมีตัวชี้วัดที่สามารถทำได้ตามเป้าหมาย คิดเป็นร้อยละ 52.17 ดังนั้นความสามารถในการบรรลุเป้าหมายทำได้เพิ่มขึ้นเท่ากับร้อยละ 31.16 และผลจากการวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของตัวชี้วัดในมุมมองด้านการเงิน มุมมองด้านลูกค้าและมุมมองด้านกระบวนการภายในพบว่ามีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน แต่ไม่พบความสัมพันธ์ของตัวชี้วัดในมุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนากับมุมมองด้านอื่นอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับความเชื่อมั่นที่ร้อยละ 95en_US
dc.description.abstractThe purpose of this research is to develop a performance measurement system based on Balanced Scorecard (BSC) for a plastic injection factory as a case study. The set of key performance indicators (KPIs) was established to measure performance at corporate level and the Pearson’s correlation coefficient was also investigated to identify the relationships of all KPIs among four perspectives. The performance measurement based on BSC was developed by working team setting followed by organization evaluation, review the vision, set organization’s targets, establish strategy map, set KPIs and objectives and then implementation. The performance data is collected for a period of 12 months and then correlation analysis is used to investigate the relationships of KPIs. After implementation, the results show that the organization is able to achieve the targets of 15 KPIs from 18 KPIs in total which means 83.33% achievement while comparing with the traditional system, the KPIs met the targets only 52.17%. Then it can be concluded that there is 31.16% improvement. From correlation analysis, it showed that there are relationships between the set of KPIs from financial perspective, customer perspective and internal process perspective while learning and growth perspective has no relationship with the other perspectives at significant level 95%.en_US
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.subjectการวัดผลงานเชิงคุณภาพen_US
dc.subjectการวัดผลงานen_US
dc.subjectการวัดผลเชิงดุลยภาพen_US
dc.subjectBalanced Scorecard: BSCen_US
dc.titleการพัฒนาระบบการวัดผลการดำเนินงานด้วยหลักการวัดผลเชิงดุลยภาพ กรณีศึกษา: โรงงานฉีดพลาสติกen_US
dc.title.alternativeDevelopment of Performance Measurement System Base on Balanced Scorecard (BSC): A Case Study of Plastic Injection Factoryen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
143255.pdfการพัฒนาระบบการวัดผลการดำเนินงานด้วยหลักการวัดผลเชิงดุลยภาพ กรณีศึกษา: โรงงานฉีดพลาสติก4.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.