Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/2544
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorจิญาดา แก้วแทน
dc.date.accessioned2015-11-02T03:06:39Z
dc.date.accessioned2020-09-24T04:23:39Z-
dc.date.available2015-11-02T03:06:39Z
dc.date.available2020-09-24T04:23:39Z-
dc.date.issued2557
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/2544-
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ความเชื่อมั่นในการออนไลน์ และการรับรู้ความเสี่ยง จากการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟน และศึกษาอิทธิพลของทัศนคติ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ความเชื่อมั่นในการออนไลน์และการรับรู้ความเสี่ยงที่มีผลต่อการยอมรับการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟน กลุ่มตัวอย่างสำหรับการศึกษาในครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่ใช้อุปกรณ์สมาร์ตโฟนที่มีอุปกรณ์สมาร์ตโฟนเป็นของตนเองในเขตกรุงเทพมหานครและปทุมธานี จำนวน 550 คน และตอบกลับ แบบสอบถามจำนวน 437 คน คิดเป็นจำนวนร้อยละ 79.4 ของผู้ตอบแบบสอบถาม โดยใช้การเลือกตัวอย่างแบบสะดวก เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถามความคิดเห็นแบบมาตราวัดประเมินค่า 5 ระดับ และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ณ ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัย ด้านทัศนคติ ด้านการรับรู้ความเสี่ยง ด้านความเชื่อมั่นในการออนไลน์ และด้านการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง จากการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟนมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากโดยมีค่าเฉลี่ย 4.37,4.27,4.01 และ3.51 ตามลำดับ และปัจจัยด้านทัศนคติ ด้านความเชื่อมั่นในการออนไลน์ และด้านการรับรู้ความเสี่ยงมีอิทธิผลต่อการยอมรับการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 0.05en_US
dc.description.abstractThe purposes of this study were to study attitude, subjective norm, online trust, and perceived risk of electronic payment through smartphones and to investigate the influence of attitude, subjective norm, online trust and perceived risk of electronic payment through smartphones. Samples in this study were 550 smartphone users who had their own smartphones and lived in Bangkok and Pathum Thani province 437 responded questionnaires, which were accounted for 79.4 percent were employed. Convenience sampling was used as sampling method and questionnaire with five-scale rating was used for data collection. Frequency, Percentage, Mean, Standard Deviation and Multiple Regressions were employed for data analysis. The results indicated that the factors in terms of attitude, perceived risk, online trust and subjective norm of electronic payment through smartphones were rated at the “High” level with the mean score of 4.37, 4.27, 4.01 and 3.51, respectively. Also, the factors in the aspects of attitude, online trust, and perceived risk significantly had an influence on the acceptance of electronic payment through smartphones.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาการบัญชีen_US
dc.subjectการรับรู้ความเสี่ยงen_US
dc.subjectการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์en_US
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟน : กรณีศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปทุมธานีen_US
dc.title.alternativeFactors influencing the acceptance of electronic payment using smarthpone devices : in case of Bangkok and Pathum Thanien_US
dc.typeIndependent Studyen_US
Appears in Collections:การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
146591.pdfปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟน : กรณีศึกษาในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปทุมธานี3.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.