Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4062
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorฑีรยุทธ สมสุข-
dc.date.accessioned2022-11-09T04:06:49Z-
dc.date.available2022-11-09T04:06:49Z-
dc.date.issued2563-
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/4062-
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ได้ทำการศึกษาเสถียรภาพของอิลาสติกคาภายใต้แรงอัดในแนวแกนและน้ำหนักของตัวเองโดยอาศัยแรงภายนอกในแนวราบแบบจุดกระทำที่กึ่งกลาง โดยที่ปลายด้านหนึ่งของอิลา-สติกคาเป็นแบบยึดแน่นในขณะที่ปลายอีกด้านหนึ่งวางอยู่บนจุดรองรับแบบสลีฟ (Sleeve Support) ที่กึ่งกลางของอิลาสติกคามีแรงในแนวราบมากระทำซึ่งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเสถียรภาพของอิลา-สติกคา ผลฉลยของปัญหาสามารถคำนวณได้โดยใช้วิธียิงเป้า ซึ่งทำได้โดยการอินทิเกรตระบบสมการอนุพันธ์ครอบคลุมปัญหาด้วยวิธีเชิงตัวเลข (วิธีรุงเง - คุตต้า อันดับ 7) โดยจะต้องสอดคล้องกับเงื่อนไขขอบเขตของปัญหา ภายหลังจากการคำนวณ ผลลัพธ์ที่จะนำมาทำการวิเคราะห์ คือแรงที่กึ่งกลาง P ̅ และระยะเคลื่อนตัวในแนวราบ h ̅ ภายใต้สภาวะของน้ำหนักบรรทุกของตัวเองที่แปรผันจาก 0.00-7.50 (W ̅ = 0.00 – 7.50).ความสัมพันธ์ระหว่างที่กึ่งกลาง P ̅ และระยะเคลื่อนตัวในแนวราบ h แสดงได้โดยกราฟความสัมพันธ์ระหว่าง h ̅ และ P ̅ ซึ่งความชันของเส้นความสัมพันธ์คือค่าสติฟเนสของอิลาสติกคาต่อแรงกระทำที่กึ่งกลาง P ̅ หากมีค่าป็นบวกแสดงถึงความมีเสถียรภาพในทางกลับกันหากมีค่าเป็นลบแสดงถึงความไร้เสถียรภาพ จากการศึกษาพบว่า น้ำหนักของตัวเองของอิลาสติกคาสามารถทำให้เกิดการสูญเสียเสถียรภาพได้เมื่อความยาวส่วนโค้งทั้งหมดเพิ่มขึ้นจนเกินค่าวิกฤติ และจากการทดลองโดยใช้วัสดุแผ่นโพลี-คาร์บอเนตที่มีความยืดหยุ่นสูงให้ค่าสอดคล้องและเป็นไปตามผลการคำนวณเชิงทฤษฎีen
dc.description.abstractThis thesis aims to study the stability of an elastica under compression and self-weight using an external point load acting horizontally at the mid-length. One end of the elastica is clamped while the other end is placed on the sleeve support. At the mid-length of the elastica, there is a horizontal force served as a tool for investigating the stability of the elastica. The solution to the problem can be computed using the shooting method. The governing differential equations are integrated numerically (i.e., 7 thorder Runge-Kutta shceme) to satisfy boundary conditions. After the calculation, the results of the force P ̅ and horizontal displacement h ̅ were analysed by varying the self-weight from 0.00 – 7.50 (W ̅ = 0.00 – 7.50).The force P ̅ and horizontal displacement h ̅ were plotted to show the relationship between them. The slope of the curves represents the stiffness of the elastica against the mid-length force P ̅. The positive value of the slope means a stable state while the negative value indicates an unstable state. From the study, the self-weight of the elastica caused the instability when the total arc-length was increased beyond a critical value. The results from the experiment using the high flexibility specimens (i.e., polycarbonate sheets) exhibit good agreement with those from the theoretical results.en
dc.language.isoThaien
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์. สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาen
dc.subjectคานen
dc.subjectอิลาสติกคาen
dc.subjectเสถียรภาพของอิลาสติกคาen
dc.subjectElasticaen
dc.titleการศึกษาเสถียรภาพของอิลาสติกคาโดยอาศัยแรงภายนอกen
dc.title.alternativeA study of stability of elastica using external forceen
dc.typeThesisen
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RMUTT-170555.pdfการศึกษาเสถียรภาพของอิลาสติกคาโดยอาศัยแรงภายนอก4.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.