Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/562
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | จิราภรณ์ เรืองรักษ์ | |
dc.date.accessioned | 2012-06-19T04:44:55Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:31:46Z | - |
dc.date.available | 2012-06-19T04:44:55Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:31:46Z | - |
dc.date.issued | 2553 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/562 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจทัศนคติและความรู้ของผู้ประกอบการต่อกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร โดยการทดสอบสมมติฐานลักษณะประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษาและรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มีผลต่อทัศนคติของ ผู้ประกอบการต่อกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และการทดสอบสมมุติฐานลักษณะทางธุรกิจ ศาสตร์มีผลต่อทัศนคติของผู้ประกอบการต่อกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และ ความรู้ต่อกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์มีผลต่อทัศนคติของผู้ประกอบการต่อกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยมีสถานประกอบการเป็นกลุ่มตัวอย่างในการศึกษาจำนวน 379 แห่ง ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ทดสอบมาตรฐานโดย Independent t-test และ One-Way ANOVA จากผลการศึกษาด้านธุรกิจศาสตร์ พบว่า ลักษณะของธุรกิจ ประเภทธุรกิจ การสั่งซื้อสินค้า วิธีการจัดส่ง การส่งเสริมการขาย ระบบการชำระเงิน มีผลต่อทัศนคติด้านการประกอบความสำเร็จแตกต่างกัน สถานภาพ ลักษณะธุรกิจ ประเภทธุรกิจ รูปแบบธุรกิจ การสั่งซื้อสินค้าวิธีการจัดส่ง การส่งเสริมการขาย ระบบการชำระเงิน มีผลต่อทัศนคติด้านการดำเนินการที่ แตกต่างกัน และจากการศึกษาด้านความรู้ต่อกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ พบว่า ส่วนใหญ่ผู้ประกอบการธุรกิจต่าง ๆ มีทัศคติด้านการประสบความสำเร็จและการดำเนินงานที่แตกต่างกัน จะมีความรู้ความเข้าใจต่อนิยามคำศัพท์ ของกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 พ.ร.ก. ว่าด้วยวิธีการปลอดภัยในการทำธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2553 และ พ.ร.ก.ว่าด้วยการควบคุมดูแลธุรกิจบริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2551 แตกต่างกัน ผลจากการวิจัยครั้งนี้ สามารถใช้เป็นข้อมูลประกอบการปรับปรุงแก้ไข พ.ร.บ และ พ.ร.ก. ที่เกี่ยวข้องกับพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และใช้สำหรับการวางแผนเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจที่ดีให้แก่ผู้ประกอบการเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดเพื่อให้มีกฎหมายที่ตอบสนองและครอบคลุมการใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาเอกระบบสารสนเทศ | en_US |
dc.subject | พาณิชยอิเล็กทรอนิกส์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ | en_US |
dc.title | ทัศนคติของผู้ประกอบการต่อกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.title.alternative | Entrepreneurs' attitudes towards electronic commerce law | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | วิทยานิพนธ์ (Thesis - BUS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
front.pdf | ทัศนคติของผู้ประกอบการต่อกฎหมายพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | 672.7 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.