Please use this identifier to cite or link to this item: http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/655
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.authorศราวุธ โตสวัสดิ์
dc.date.accessioned2012-10-15T08:53:49Z
dc.date.accessioned2020-09-24T06:42:26Z-
dc.date.available2012-10-15T08:53:49Z
dc.date.available2020-09-24T06:42:26Z-
dc.date.issued2554
dc.identifier.urihttp://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/655-
dc.description.abstractการศึกษาการแยกเส้นใยไผ่สีสุกเพื่อนำเส้นใยมาใช้เป็นวัตถุดิบทางสิ่งทอในครั้งนี้ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์ต้องการค้นหาวัตถุดิบใหม่ๆ เพื่อใช้เป็นนวัตกรรมสิ่งทอ ที่สามารถนำมาใช้ทดแทนฝ้ายหรือลดปริมาณการใช้ฝ้ายให้น้อยลงเนื่องจากปัญหาการขาดแคลนฝ้ายในปัจจุบัน ศึกษาสมบัติทางกายภาพของใยไผ่สีสุก จากนั้นทำการต้มแยกใยไผ่โดยการต้มด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) ด้วยเทคนิคการแยกใยแบบการทำเยื่อกระดาษ (Formacell method) โดยใช้ความเข้มข้น เวลา และอุณหภูมิที่ต่างกัน จากนั้นทำการปรับสภาพใยไผ่ที่แยกได้ด้วยการลงสารตกแต่งให้ใยนุ่ม (Softener) แล้วทำการทดสอบสมบัติของใยตามวิธีทดสอบใยทางสิ่งทอ การศึกษานี้พบว่า ไผ่สีสุกสามารถที่จะนำมาทำการแยกเส้นใยด้วยกระบวนการทางเคมีตามกระบวนการทำเยื่อกระดาษ โดยใช้หม้อต้มความดันด้วยการต้มไม้ไผ่กับโซเดียมไฮดรอกไซด์ ละลายน้ำ ในอัตราส่วน 1:3 พบว่าเวลาที่ใช้ 90 นาที ความเข้มข้น 10% ที่อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส ทำให้สามารถแยกใยออกมาได้ดีที่สุด การดำเนินงานวิจัยครั้งนี้สามารแยกกลุ่มของเส้นใยออกได้เท่านั้น ซึ่งยังไม่สามารถแยกเป็นใยเดี่ยวได้ จากการทดสอบสมบัติต่างๆ ของกลุ่มเส้นใยไผ่สีสุก พบว่า ใยไผ่สีสุก มีความเหมาะสมทางด้านความแข็งแรงและความยาว ซึ่งสามารถนำมาทำเป็นวัตถุดิบทาง สิ่งทอได้ อีกทั้งมีความโดดเด่นกว่าเส้นใยธรรมชาติที่ใช้ในเชิงอุตสาหกรรมในเรื่องการต้านการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย (Anti-bacteria)en_US
dc.description.abstractThe research aims to create a new fiber as a textile fiber innovation. In order to replace or reduce cotton consumption. Cotton is insufficient in the present day. The physical property of the bambusa blumeana schult was observed. The fiber was extracted with sodium hydroxide through the formacell method. The influence of chemical concentration, time and temperature were studied. After that, the separated fiber was treated with softener. The fiber property was tested using textile testing method. It was found that the chemical process, according to formacell method, could extract fibers from bambusa blumeana schult. This was done under high pressure with the ratio of bambusa blumeana schult to the solution ratio at 1:3. The suitable condition for fiber extraction is the application of 10% chemical concentration, at 120 degree Celsius for 90 minutes. The separation technique could only separate the sample into bundle of fiber, not single fiber, yet. The fiber property test results showed the bamboo fiber was suitable to use as textile raw material in terms of fiber strength and length. In addition, the fiber had anti-bacteria property whereas other natural fibers using in textile industry does not have.
dc.language.isoThaien_US
dc.publisherมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะวิศวกรรมศาสตร์ . สาขาวิชาสิ่งทอ
dc.subjectbambusa blumeana schulten_US
dc.subjectconcentrationen_US
dc.subjectfiber extractionen_US
dc.subjectformacell methoden_US
dc.subjectsolution hydroxideen_US
dc.subjectการทำเยื่อกระดาษen_US
dc.subjectการแยกเส้นใยen_US
dc.subjectความเข้มข้นen_US
dc.subjectโซเดียมไฮดรอกไซด์en_US
dc.subjectไม้ไผ่สีสุกen_US
dc.titleการศึกษาการแยกใยไผ่สีสุกเพื่อนำมาเป็นวัตถุดิบทางสิ่งทอen_US
dc.title.alternativeA Study on the Extraction of Bamboo Fiber from Bambusa Blumeana Schult to use as Textile Raw Materialen_US
dc.typeThesisen_US
Appears in Collections:วิทยานิพนธ์ (Thesis - EN)

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
การศึกษาการแยกใยไผ่สีสุกเพื่อนำมาเป็นวัตถุดิบทางสิ่งทอ.pdfการศึกษาการแยกใยไผ่สีสุกเพื่อนำมาเป็นวัตถุดิบทางสิ่งทอ14.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.