Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/720
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ชลธชา พลีสิงห์ | |
dc.date.accessioned | 2013-03-06T03:29:42Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:16:19Z | - |
dc.date.available | 2013-03-06T03:29:42Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:16:19Z | - |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/720 | - |
dc.description.abstract | การค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาทัศนคติของผู้ใช้บริการเฟสบุ๊คต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยพิจารณาจากการพัฒนาของการสื่อสารบนโลกอินเตอร์เน็ต การสร้างสังคมออนไลน์หรือสังคมเครือข่ายที่มีมากขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้ที่ใช้บริการเฟสบุ๊คจำนวน 400 ตัวอย่าง สถิติที่ใช้ในการทดสอบ คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและสถิติเชิงอนุมานที่ใช้ทดสอบสมมติฐาน คือ ค่าที Independent Samples t-test และทดสอบสมมติฐานความแปรปรวนทางเดียวของประชากรมากกว่า 2 ขึ้นไป คือ One-Way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยใช้วิธี Least Significant Difference (LSD) ผลจากการศึกษาวิจัย พบว่า ผู้ตอบสอบถามส่วนใหญ่ เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย ช่วง อายุระหว่าง 20-29 ปี มีสถานภาพโสด ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีอาชีพเป็น พนักงาน/เจ้าหน้าที่บริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ย 10,001-20,000 บาท ผู้ใช้บริการส่วนใหญ่ใช้บริการ 3-4 ปี และส่วนใหญ่ใช้บริการ 5 วันต่อสัปดาห์ ระยะเวลาใช้บริการ 4-6 ชั่วโมงต่อวันด้านวัตถุประสงค์ในการใช้บริการ ส่วนใหญ่จะใช้บริการเพื่อการติดต่อสื่อสารกัน ด้านประสบการณ์ในการใช้บริการ ส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์ และด้านความต้องการในการซื้อสินค้า และบริการในเว็บไซต์ ส่วนใหญ่จะใช้บริการเพื่อซื้อสินค้าประเภทเสื้อผ้า เครื่องแต่งกาย เครื่องประดับ ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญกับทัศนคติ มากที่สุด คือ ด้านเทคโนโลยี ระดับมาก และเรียงตามลำดับลงมา คือ ด้านข้อมูลบริการ ด้านความปลอดภัย และด้านบริการ ตามลำดับ ผลจากการวิเคราะห์สมมติฐาน ทัศนคติด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ โดยภาพรวม พบว่า ข้อมูลทั่วไปของผู้ใช้บริการเฟสบุ๊ค สถานภาพ ระดับการศึกษา รายได้ต่อเดือน มีผลต่อความคิดเห็นด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่แตกต่างกัน ส่วนภาพรวมพฤติกรรมผู้ใช้บริการ พบว่า ระยะเวลาใช้บริการต่อวัน วัตถุประสงค์ใช้บริการ และประสบการณ์ใช้บริการ มีผลต่อความคิดเห็นด้านพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ ที่แตกต่างกัน | en_US |
dc.description.abstract | The purpose of this independent study was to study the Facebook users’ attitudes toward e-commerce by considering from a communication development through the Internet and a creation of social networks, which seemed to increase in these days. The sample consisted of 400 participants who were Facebook users. Descriptive statistics used for data analysis included Percentage and Mean. For inferential statistics, the Independent Samples t-test was used to investigate the difference between two independent groups while One-Way ANOVA was used to determine the differences between three or more independent groups. Finally, Least Significant Difference (LSD) was used to determine the minimum difference between any two means. The results of the independent study revealed that the majority of the participants were female with an average age ranging from 20 to 29 years old and marital status was single. Besides, the level of education was mostly Bachelor’s degree while the majority of these participants had job position as employees/staff of private companies. The average monthly income ranged from 10,001 to 20,000 Baht. Moreover, the majority of these participants had been using e-commerce for three to four years and frequency of use was 5 days per week for approximately 4 to 6 hours per day. The main purpose of using e-commerce was for communications. Most of these participants did not have an experience in using this service before. Due to an aspect of the need for purchasing product/service via websites, most of participants purchased apparels and accessories. The most important aspect which participants considered when using e-commerce is technology, followed by service information, security, and service, respectively. According to a hypothesis testing regarding an overall attitude toward e-commerce, the result showed that general information of Facebook users consisted of marital status, level of education, and monthly income affected opinions toward e-commerce in different ways. In addition, it indicated that time duration of use the service per day, purpose, and experience affected on opinions toward e-commerce differently. | |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาเอกระบบสารสนเทศ | en_US |
dc.subject | en_US | |
dc.subject | พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.subject | เครือข่ายสังคมออนไลน์ | en_US |
dc.title | ทัศนคติของผู้ใช้บริการเฟสบุ๊คต่อพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ | en_US |
dc.title.alternative | Attituders of facebook users toward E-Commerce | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
Appears in Collections: | การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
124310.pdf | Attituders of facebook users toward E-Commerce | 1.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.