Please use this identifier to cite or link to this item:
http://www.repository.rmutt.ac.th/xmlui/handle/123456789/748
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ภุมรินทร์ ทวิชศรี | |
dc.date.accessioned | 2013-04-09T07:23:16Z | |
dc.date.accessioned | 2020-09-24T04:27:32Z | - |
dc.date.available | 2013-04-09T07:23:16Z | |
dc.date.available | 2020-09-24T04:27:32Z | - |
dc.date.issued | 2554 | |
dc.identifier.uri | http://www.repository.rmutt.ac.th/dspace/handle/123456789/748 | - |
dc.description.abstract | การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจวิเคราะห์ปัจจัยและเปรียบเทียบความคาดหวังและความพึงพอใจของพนักงาน โดยเครื่องมือที่ใช้ในการสำรวจเป็นแบบสอบถามจำนวนทั้งหมด 278 ชุด มีค่าความเชื่อมั่น 0.9605 โดยสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยใช้ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSSในการวิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ปัจจัยส่วนบุคคลพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชายมีอายุ 25 ปี แต่ไม่เกิน 30 ปี มีการศึกษาระดับระดับปริญญาตรี สถานภาพโสด ปฏิบัติงานในบริษัท 5 ปีแต่ไม่ถึง 10 ปี มีตำแหน่งงานเป็นพนักงานปฏิบัติการและมีรายได้ 25,000 บาท แต่ไม่ถึง 30,000 บาท ผลการวิเคราะห์ความคาดหวังอยู่ในระดับมาก ด้านความปลอดภัยมีความคาดหวังมากที่สุดรองลงมาคือ ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านการมอบหมายงาน ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านการบริหารงานและด้านสถานที่ทำงาน ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจอยู่ในระดับปานกลาง ด้านความปลอดภัยมีความพึงพอใจมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านการมอบหมายงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้านสถานที่ทำงาน และด้านการบริหารงาน ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานด้านความคาดหวังพบว่า ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศ ระดับการศึกษา สถานภาพ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ตำแหน่งงานและรายได้ที่แตกต่างกัน มีความหวังในการทำงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุที่แตกต่างกัน มีความหวังในการทำงานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านระดับการศึกษาสถานภาพ ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ตำแหน่งงานและรายได้ที่แตกต่างกัน มีพึงพอใจในการทำงานแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งสอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ ปัจจัยส่วนบุคคลด้านเพศและอายุที่แตกต่างกัน มีความพึงพอใจในการทำงานไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งไม่สอดคล้องกับสมมติฐานที่ตั้งไว | en_US |
dc.description.abstract | The objectives of the individual study were to investigate the employees’ work expectations and satisfaction, to analyze the employees’ demographic factors, and to compare the employees’ expectations and satisfaction. The questionnaire with the reliability of 0.9605 was used as the data collecting instrument. The data were received from 278 questionnaires and analyzed using Percentage, Means, Standard Deviation through the application of SPSS program. The analysis of personal factors revealed that the majority of the respondents were male, between 25-30 years old, graduated with Bachelor’s degree, were single, had 5-10 years of work, held the position of operators, and earned average monthly income between 25,000 - 30,000 Baht. The analysis result of employees’ expectations was found at a high level. The safety at the highest level, next below were the aspects of work environment, delegation, team working, administration and workplace respectively. The analysis result of the employees’ satisfaction was found at a moderate level. The safety at the highest level, next below were the aspects of team working, delegation, work environment, workplace and administration respectively. The results of hypothesis test of expectations demonstrated that different personal factors on gender, education, marital, work experience, position and income caused difference in the employees’ expectations at 0.05 level of significance, and the results conformed to the hypothesis. The employees with different ages caused no difference in the work expectations at 0.05 level of significance, however, the study result did not agree with the hypothesis. Different personal factors on education, marital, experience, position and income caused difference in the employees’ work satisfaction at 0.05 level of significance, and the result conformed to the hypothesis. The employees with different ages demonstrated no difference in the employees’ satisfaction at 0.05 level of significance, thus the study result did not conformed to the hypothesis. | en_US |
dc.language.iso | Thai | en_US |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. คณะบริหารธุรกิจ. สาขาวิชาการจัดการวิศวกรรมธุรกิจ | en_US |
dc.subject | ความพึงพอใจในการทำงาน | en_US |
dc.subject | พนักงาน -- บริษัทพรอคเตอร์แอนด์แกมเบิล แมนูแฟคเจอริ่ง(ประเทศไทย) จำกัด -- ความพึงพอใจ | en_US |
dc.title | ความคาดหวังและความพึงพอใจในการปฏิบัติของพนักงานบริษัทพรอคเตอร์แอนด์แกมเบิล แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด | en_US |
dc.title.alternative | Employees’ Work Expectations and Satisfaction at Proctor & Gamble Manufacturing (Thailand) Company Limited | en_US |
dc.type | Independent Study | en_US |
Appears in Collections: | การค้นคว้าอิสระ (Independent Study - BUS) |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
122754.pdf | ความคาดหวังและความพึงพอใจในการปฏิบัติของพนักงานบริษัทพรอคเตอร์แอนด์แกมเบิล แมนูแฟคเจอริ่ง (ประเทศไทย) จำกัด | 1.89 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.